Page 112 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 112

107

                  4 ตันตอไร ขึ้นอยูกับชนิดของหญาสถานที่ และความลึกของดิน  เมื่อรากพืชแหงตายลง ภายหลังการ

                  สลายตัวจะกลายเปนทอน้ําและอากาศในดิน ซึ่งชวยในการระบายน้ําฝนที่ไหลบาทวมเออผานผิวดินใหซึม
                  ลึกลงไปสูสวนลางของดินไดสะดวกขึ้น เปนการลดปริมาณน้ําที่ไหลบาบนผิวดิน ในกรณีที่มีการปลูกหญา

                  รวมกับถั่วบางชนิด จะเปนการปลูกในลักษณะคลุมดินทั่วๆไป หรือปลูกคลุมดินรวมกันในระหวางแถวพืช

                  หลัก สามารถชวยใหการระบายน้ําในดินที่แนนตัว (Compaction) ดีกวาการฝงทอระบายน้ําใตดิน จากการ
                  ทดลอง พบวาการระบายน้ําสูสวนลึกของดินบนดินที่วางเปลาปราศจากสิ่งปกคลุม มีอัตราประมาณ 0.24 นิ้ว

                  ตอชั่วโมงในขณะเดียวกันบนพื้นที่ปกคลุมดวยพืชและซากพืช น้ําไดระบายลงสูสวนลึกของดินอัตราสูงถึง

                  0.74 นิ้วตอชั่วโมง

                           (5) ชวยปรับปรุงสภาพความรวนซุยของดิน  (Improvement of soil tilth) พืชเมื่อแหงตายลง สวน
                  ตางๆ จะสลายตัวเปนอินทรียวัตถุอยูในดิน ซึ่งเปนตัวการสําคัญในการกระตุนใหดินจับรวมตัวกันเปนกอน

                  บริเวณดินชันบน ซึ่งอินทรียวัตถุไมเพียงแตชวยทําใหดินเกาะติดกัน ยังชวยทําใหดินโปรงมีรูพรุน (Porosity)

                  ดินมีความรวนซุย การไถพรวนทําไดงายและสะดวก พืชที่ยังมีชีวิต รากนอกจากจะทําหนาที่ในการดูดเอา

                  ธาตุอาหารและน้ําจากดินแลว รากยังชวยยึดดิน และทําใหดินจับรวมกันเปนกอนดินที่มีลักษณะโครงสราง
                  กายภาพจับรวมกันเปนกอนดี จัดไดวาเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณที่เหมาะสมตอการผลิต     (Soil

                  productivity) พืชหลักที่ปลูกในดินเชนที่กลาวมานี้จะเจริญงอกงาม และใหผลผลิตสูง

                           (6)  ชวยเพิ่มความอุดมสมบูรณแกดิน (Source of nutrient supply)  ธาตุอาหารพืชที่มีอยูในดิน
                  สวนมากมักจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางลดลงในทางลดลงอยูเสมอ ยิ่งมีการใชพื้นที่ปลูกพืชหลักติดตอกัน

                  ทุกป  การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารลงในดิน นอกจากจะเพิ่มโดยการใชปุยแลว เศษเหลือของพืชที่มีปริมาณ

                  มากพอก็สามารถจะเพิ่มปริมาณของธาตุที่มีอยูใหแกดินได เมื่อพืชสลายตัวใหอินทรียวัตถุแกดิน ธาตุอาหาร
                  ที่เปนองคประกอบอยูในอินทรียวัตถุ จะถูกปลดปลอยสูดิน เปนประโยชนกับพืชที่ปลูกรุนตอไป เปนที่

                  ทราบกันดีวาธาตุไนโตรเจนเปนธาตุที่มีอยูในอินทรียวัตถุประมาณ 5 เปอรเซ็นต ซึ่งนับวาเปนธาตุที่สําคัญ

                  และมีปริมาณมากรองลงมาจากธาตุคารบอน นอกจากนี้ ในอินทรียวัตถุยังมีธาตุอาหารอื่น ๆ ที่จําเปนตอการ

                  เจริญเติบโตของพืช อาทิ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม ซัลเฟอร และแมกนีเซียม เปนตน อินทรียวัตถุ
                  ยังเปนตัวการที่คอยดูดซับธาตุอาหารอื่นๆ ที่เปนประจุบวกไวรอบๆ อนุภาคของดิน ทําใหดินมีความอุดม

                  สมบูรณมากขึ้น พืชที่มีระบบรากลึกรากจะทําที่ดูดซับเอาธาตุอาหารที่กําลังไหลซึมไปกับน้ํา (Percolation) สู

                  สวนลึกของดิน กลับคืนขึ้นมาใชประโยชน เพื่อการเจริญเติบโตของพืชตอไป แทนที่จะปลอยใหสูญเสียไปสู
                  ความลึกสุดของดิน พืชที่ชวยในการเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินไดมาก ๆ มักเปนพืชตระกูลถั่ว ไดแก ถั่ว

                  ชนิดตาง ๆ ทั้งที่เปนเถาเลื้อย ไมพุม และไมยืนตน รองลงมาไดแก หญาชนิดตาง ทั้งหญาประเภทเตี้ย และ

                  หญาประเภทสูง

                           (7) ชวยปองกันการชะลางพังทลายของดิน (Plants as soil conservation measure) การชะพังทลาย
                  ของดินเกิดขึ้นโดยน้ําฝนและลมพัด กรณีของน้ําฝน พืชที่เจริญเติบโตและขึ้นไดอยางหนาแนนบนดินทํา

                  หนาที่สกัดกั้นแรงตกกระทบของเม็ดฝนไมใหปะทะผิวดินโดยตรง เม็ดดินไมแตกกระจายออกจากกัน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117