Page 111 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 111

106

                  ที่มีพืชขึ้นปกคลุมการระเหยน้ําจากดินมีเพียงเล็กนอยมากจึงไมปรากฏเกลือไวเหนือผิวดิน ดินที่มีพืชขึ้นปก

                  คลุม แมวาจะมีการคายน้ําทางใบ แตเปนการระเหยน้ําที่มีปริมาณนอยกวา เมื่อเปรียบเทียบกับการระเหยน้ํา
                  ทั้งหมดบนผิวดินและใบพืชรวมกัน (Evapotranspiration) การคายน้ําทางใบ (Transpiration) นั้นชวยใหเกิด

                  ความชุมชื่นในบริเวณและชวยใหการระเหยน้ําจากดินลดนอยลง ดังนั้น บริเวณที่มีพืชขึ้นหนาแนน ความชื้น

                  ในดินถูกระเหยไปชากวาจึงมีความชุมชื่นดีกวาบริเวณที่ไมมีพืชหรือเศษพืชปกคลุม

                          (2) เพิ่มประสิทธิภาพในการอุมน้ําของดิน  พืชที่เจริญเติบโตบนดิน เมื่อแหงตายลง สวนตาง ๆ ของ
                  พืชที่เนาเปอยสลายตัวกลายเปนอินทรียวัตถุ (Organic matter) ดินบริเวณใดมีพืชขึ้นอยูอยางหนาแนน มวล

                  ชีวะ (Biomass) ยอยมีมากจึงทําใหปริมาณอินทรียวัตถุในดินนั้นมีมากดวย อินทรียวัตถุมีคุณสมบัติดีเดน

                  หลายประการ นอกเหนือจากมีปริมาณธาตุไนโตรเจน และธาตุอาหารอื่น ๆ แลว ยังชวยทําใหความสามารถ
                  ในการแลกเปลี่ยนประจุบวก  (Cation  exchange  capacity)  ของดินสูงดินมีความโปรง รวนซุย และมีรูพรุน

                  (Pore space) มาก เมื่อมีฝนตกลงมาสามารถดูดซึบน้ําและอุมน้ําไวในดินเปนปริมาณสูง และคงอยูในดินได

                  นานวัน พืชที่ปลูกในดินดังกลาวนี้จะเจริญงอกงามดี แตกตางกับดินที่มีพืชขึ้นอยูนอย สภาพดินคอนขาง

                  แนนทึบ ไมโปรงรวนซุย การอุมน้ําไมดี เมื่อมีการปลูกพืชหลักลงไป ความชื้นในดินมักหมดไปอยางรวดเร็ว
                  พืชที่ปลูกจะแสดงอาการเหี่ยวเฉาเร็ว และเจริญเติบโตไมเต็มที่

                           (3) ชวยสกัดกั้นน้ําฝน (Rainfall interception) ในขณะฝนตกทุกครั้ง เม็ดฝนตกกระทบที่ผิวดินและ

                  ทําใหดินบนแตกกระจาย พืชที่เจริญเติบโตบนดินทําหนาที่ในการสกัดกั้นและรับน้ําฝนที่ตกลงมากอนถึง
                  พื้นดิน แลวตอยๆ ใหน้ําฝนไหลผานลําตนซึมลงสูผิวดินอยางชา ๆ ลดปริมาณน้ําไหลบานอยลง พืชแตละ

                  ชนิดมีความสามารถในการสกัดกั้นและดูดซับน้ําฝนไดไมเหมือนกัน ขึ้นอยูกับปริมาณและความหนาแนน

                  ของพืช มีรายงานพบวา ขาวโพดที่ปลูกในอัตราความหนาแนน 12,700 ตนตอเอเคอร ดูดซับน้ําฝนได 60.7
                  เปอรเซ็นต ของปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาทั้งหมด เมื่อเพิ่มความหนาแนนเปน 25,000 ตัน/เอเคอร สามารถดูด

                  ซับน้ําฝนได 44.5 เปอรเซ็นต ขณะเดียวกัน ถั่วเหลืองที่ปลูกในอัตราความหนาแนนเชนเดียวกันกับขาวโพด

                  ดูดซึมน้ําฝนได 78.2 และ 64.3 เปอรเซ็นต ตามลําดับ การทดลองเปรียบเทียบพืชตระกูลถั่วกับขาวโพด พบวา

                  ถั่วอัลฟลฟา สามารถดูดซับน้ําฝนได 35.8 เปอรเซ็นต ของปริมาณฝนตกทั้งหมด 10.8 นิ้ว ในขณะที่ขาวโพด
                  ดูดซับได 15.5 เปอรเซ็นต จากปริมาณน้ําฝนทั้งหมด 7.1 นิ้ว และขาวโอดดูดซับน้ํา 6.9 เปอรเซ็นต ของ

                  ปริมาณฝนตกทั้งหมด 6.8 นิ้ว โดยทั่วๆ ไปการดูดซึบน้ําฝนของตนพืชที่มีความหนาแนนทางลําตน และมี

                  ปริมาณใบมาก เฉพาะอยางยิ่งพืชคลุมดินสมารถดูดซับน้ําฝนไดมากกวาพืชที่มีปริมาณใบคอนขางนอย

                           (4)  ชวยการระบายน้ําในดิน (Facilitate of internal drainage) การระบายน้ําในดินนี้หมายถึงการ
                  ระบายน้ําที่เปนปริมาณสวนลึกของดิน จนถึงระดับน้ําใตดิน พืชที่เจริญเติบโตบนดิน รากของพืชชอนไชไป

                  ตามดานขาง และความลึกของดิน เพื่อดูดธาตุอาหารขึ้นไปยังสวนตางๆ ของพืช อยางไรก็ตาม พืชจําพวก

                  หญาและถั่วมีบทบาทอยางมากเกี่ยวกับการระบายน้ําของดิน โดยเฉพาะหญาซึ่งมีระบบรากฝอยที่สามารถ
                  หยั่งลึกลงในดินถึง 180 เซนติเมตร หรือมากกวา และรากของหญายังมีปริมาณมากดวย จากการเปรียบเทียบ

                  น้ําหนักแหงของรากหญาในพื้นที่ตางๆ กัน พบวา ปริมาณของรากหญามีน้ําหนักตั้งแตนอยกวา 1 ตัน จนถึง
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116