Page 40 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 40

28


                                        (3) ขุดบ่อดักตะกอนเพื่อชะลอการไหลบ่าของน้ าที่ผิวดิน และยังสามารถใช้น้ า
                  เสริมในการปลูก

                                        (4) น ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ ามาใช้ โดยการปลุกพืชเป็นแถวขวางความลาด
                  เทของพื้นที่ และการปลูกพืชตระกูลถั่วแซมพืชหลัก เป็นต้น
                                      1.2) ปัญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอย่าง
                                        (1) ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 1.5-2.0 ตันต่อไร่ หรือปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ

                  ลงดินเมื่อปุ๋ยพืชสดออกดอกได้ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์
                                        (2) ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชไร่หลัก หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแซมกับพืชหลัก
                  จะช่วยรักษาและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินและยังเพิ่มความสามารถในการอุ้มน้ าของดินอีกด้วย
                                        (3) ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร อัตรา และวิธีการใช้ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช ร่วมกับผลการ

                  วิเคราะห์ดินที่แสดงไว้
                                2) พืชผัก
                                      2.1) กวางตุ้ง ไถและตากดินไว้ประมาณ 7 วัน แล้วไถพรวนอีก 1-2 ครั้ง เพื่อก าจัด
                  วัชพืช หว่านปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่ย่อยสลายดีแล้ว อัตรา 2 ตันต่อไร่ต่อปี ยกร่องกว้างประมาณ 1.5 เมตร

                  ระยะห่างระหว่างร่อง 30 เซนติเมตร ก่อนปลูกหว่านปุ๋ยสูตร 20-10-10 อัตรา 25-30 กิโลกรัมต่อไร่
                                      2.2) คะน้า ไถและตากดินไว้ประมาณ 7 วัน แล้วไถพรวนอีก 1-2 ครั้ง เพื่อก าจัด
                  แมลง โรค และวัชพืช หว่านปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่ย่อยสลายดีแล้วอัตรา 2 ตันต่อไร่ต่อปี ยกร่องกว้าง

                  ประมาณ 1.5 เมตร ระยะห่างระหว่างร่อง 30 เซนติเมตร ก่อนปลูกหว่านปุ๋ยสูตร 20-10-10 อัตรา 25-30
                  กิโลกรัมต่อไร่
                                      2.3) ผักกาดขาวปลี การเตรียมดินคล้ายคลึงกับกะหล่ าดอกเพียงแต่เตรียมดินให้
                  ละเอียดขึ้นและท าแนวร่องส าหรับเมล้ดพันธุ์ลึกประมาณ 0.5-0.8 เซนติเมตร เพราะเมล็ดพันธุ์มีขนาดเล็ก
                  ระยะปลูกระหว่างต้น และแถว คือ 30-50 และ 40-75 เซนติเมตร ตามล าดับ

                                3) ไม้ผล และไม้ยืนต้น
                                      3.1) มะขาม เตรียมหลุมปลูกขนาด 60x60x60 เซนติเมตร ดินที่ขุดขึ้นมาให้แยกชั้น
                  บนและล่างไว้คนละกอง ตากดินและหลุมไว้ 15-20 วัน ผสมดินล่างกับปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกในอัตราส่วน

                  2 : 1 จากนั้นกลบดินชั้นบนลงในหลุมแล้วตามด้วยดินชั้นล่าง ควรกลบดินให้สูงกว่าขอบปากหลุมเดิมเผื่อ
                  การยุบตัวหลังจากรดน้ าหรือฝนตก ช่วยให้ไม่เกิดแอ่งรอบโคนต้น
                                      3.2) ล าไย พื้นที่เคยปลูกพืชอื่นมาก่อนให้ไถดินลึกประมาณ 30 เซนติเมตร ตากดิน
                  ไว้ 20-25 วัน พรวนย่อยดินอีก 1-2 ครั้งและปรับดินให้สม่ าเสมอตามแนวลาดเอียง ใช้ระยะปลูกระหว่าง

                  ต้นและแถวประมาณ 8x8 หรือ 10x8 เมตร ตามสภาพพื้นที่ หรือระยะ 7x5 เมตร ในกรณีที่มีการควบคุม
                  ทรงพุ่ม หลุมปลูกควรมีขนาด 80x80x80 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้วอัตรา 3-5
                  กิโลกรัมต่อหลุม โดยผสมกับหน้าดิน ใส่ลงหลุม พูนดินสูงจากปากหลุมประมาณ 15 เซนติเมตร
                                      3.3)  ส้มเขียวหวาน พื้นที่ใหม่ให้ขุดตอไม้ออก ถ้ามีดินดานให้ท าลายชั้นดินดาน

                  ไถพรวนลึก 30-40 เซนติเมตร ปรับพื้นที่ให้เรียบ ขึ้นแปลงเป็นรูปลอนลูกฟูกขวางทางแสงอาทิตย์กว้าง
                  3 เมตร สูง 40 เซนติเมตรความยาวไม่จ ากัด และมีพื้นที่ว่างระหว่างแปลง 3 เมตร ไว้เป็นทางเข้าท างาน
                  ของเครื่องจักร ใช้ระยะปลูกระหว่างต้นและแถวประมาณ 4 และ 3 เมตร ตามล าดับ หลุมควรมีขนาด
                  50x50x50  เซนติเมตร ผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักกับดินที่ขุดขึ้นมาอัตรา 10 กิโลกรัมต่อต้น พร้อมปุ๋ยหิน

                  ฟอสเฟต 0.5 กิโลกรัม และปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 100 กรัม และกลบกลับลงไปในหลุม หลังจากปลูกต้น
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45