Page 65 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 65

48


                                  ดินเนื้อละเอียดมีช่องขนาดเล็กท าให้อุ้มน้ าได้มากการระบายน้ าเลวแต่มีความสามารถ

                      ในการดูดซับธาตุอาหารได้มากมีความอุดมสมบูรณ์สูงดินเนื้อละเอียดสามารถรับการใส่ปุ๋ยได้ครั้ง
                      ละมากๆการจัดการดินต้องค านึงถึงการให้น้ าเพราะจะกระทบต่อการถ่ายเทอากาศของดิน

                             สีดิน (Soil color)

                             สีของดินเป็นสมบัติทางกายภาพที่มองเห็นได้ง่ายตามปกติอนุภาคแร่ในดินมักไม่มีสีหรือมี
                      สีจาง  (ยกเว้นแร่สีเข้มบางชนิด) ดังนั้นสีดินจึงมักผันแปรไปตามสภาพและองค์ประกอบอื่นๆของ

                      ดินเช่นปริมาณของอินทรียวัตถุและออกไซด์ของเหล็กดังนี้

                                  - ดินที่มีฮิวมัส (Humus) มากดินจะมีสีคล้ า (ด า) หรือน้ าตาลเข้ม
                                  - ดินแร่ที่ใช้ในการเพาะปลูกจะมีเหล็กอยู่ประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนักมักไม่มี

                        ผลกระทบต่อสีของดินส่วนเหล็กที่เกิดจากการผุพังของแร่ดั้งเดิมมีผลกระทบต่อสีของดินอยู่ในรูป

                        ออกไซด์และไฮดรอกไซด์  เหล็กรูปเฟอร์รัสออกไซด์  (FeO)  ดินจะมีสีเทารูปเฟอร์ริกออกไซด์

                        (Fe O )  ดินจะมีสีแดงรูปไฮเดรทเตทเฟอร์ริกออกไซด์  (2Fe O .3H O)  ดินจะมีสีเหลืองและรูป
                                                                            2 3
                                                                                  2
                          2 3
                        เฟอร์รัสซัลไฟด์ (FeS) มีน้ าขังดินจะมีสีด า
                                  -  ขบวนการก าเนิดดินที่มีการสะสมของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมคาร์บอเนตมากดิน

                      จะมีสีขาว
                                  -  ขึ้นอยู่กับสภาวะบางอย่างของดิน เช่น สภาวะขังน้ าจะท าให้ดินมีสีเทาหรือสีน้ าเงิน

                        สภาวะระบายน้ าดีดิน จะมีสีเหลืองหรือสีแดงถ้าหากขังน้ าและระบายน้ าเกิดขึ้นสลับกันเสมอดิน

                        จะ มีจุดประ (Mottle) คือมีจุดสีเหลืองหรือสีแดงบนพื้นสีเทาเป็นต้น

                                  ความหนาแน่นของดิน (Soil density) หมายถึงน้ าหนักดินต่อหน่วยปริมาตรของดินมี 2
                      ประเภท  คือ

                                  -  ความหนาแน่นของอนุภาคดิน  (Particle  density  of  soil)  หมายถึงสัดส่วนระหว่าง

                                                                                                 -3
                        น้ าหนักของดินที่อบแห้งแล้วต่อปริมาตรของส่วนที่เป็นของแข็งของอนุภาคดิน (gm cm )
                                  - ความหนาแน่นรวมของดิน (Bulk density of soil) หมายถึงสัดส่วนระหว่างน้ าหนัก

                      ของดินที่อบแห้งแล้วต่อปริมาตรรวมของดินทั้งหมด  (ปริมาตรของอนุภาคดินและช่องว่างในดิน)

                             -3
                      (gm  cm )    ความหนาแน่นรวมของดินบนที่มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวดินร่วนเหนียวและดินร่วนปน
                                                          -3
                      ทรายแป้งมีค่าอยู่ในช่วง 1.20-1.80 (gm cm ) ความหนาแน่นรวมของดินล่างจะเพิ่มขึ้นตามความลึก
                      เนื่องจากมีอินทรียวัตถุน้อยกว่าดินบนค่าวิกฤตความหนาแน่นรวมของดินที่มีผลต่อการชอนไชของ

                      รากพืชนั้นมีผู้ให้ค่าโดยประมาณไว้ดังนี้ดินทรายและดินร่วนค่าวิกฤตความหนาแน่นรวมของดิน
                                                                            -3
                      มากกว่า 1.6-1.8 gm cm  ดินทรายแป้งมากกว่า 1.4-1.6 gm cm  ดินเหนียวมากกว่าหรือเท่ากับ 1.3
                                           -3
                            -3
                      gm cm ค่าของความหนาแน่นรวมของดินใช้ในการค านวณมวลของดินชั้นไถพรวนและใช้ค านวณ
                      แปลงค่าปริมาณเชิงมวลเป็นปริมาณน้ าเชิงปริมาตรซึ่งใช้ในการคิดปริมาณน้ าเพื่อการชลประทาน

                      การเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินภายหลังการปลูกป่า  10  ปี   ศิริภา  โพธิ์พินิจ  และ  คนึงกิจ  ลิ้มตระกูล  ได้รายงานว่า
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70