Page 68 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 68

51


                             Thaiutsa et  al. (1978)    รายงานว่าปริมาณซากพืชที่ร่วงหล่นในป่าเต็งรัง  มีประมาณปีละ

                      4.7  ตันต่อเฮกแตร์  ซึ่งมีปริมาณไนโตรเจนสูงที่สุด  รองลงมาได้แก่  แคลเซียม  โปแตสเซียม
                      แมกนีเซียม  และฟอสฟอรัส  ตามล าดับ  ส่วนซากพืชในป่าดิบเขาจะมีไนโตรเจนในประมาณที่ต่ า

                      คือมีแคลเซียม >แมกนีเซียม >ไนโตรเจน  >ฟอสฟอรัส  >โปรแตสเซียม  ปละมวลชีวภาพของป่าดิบ

                      แล้งและป่าเต็งรัง  มีค่าเท่ากับ  242.43  และ  94/82  ตันต่อเฮกแตร์  ตามล าดับ  (บุญฤทธิ์,  2525)
                             พงษ์ศักดิ์  (2537)    ได้ศึกษาผลผลิต  และการหมุนเวียนของธาตุอาหารของป่าเต็งรังใน

                      ประเทศไทย  เฉพาะพรรณไม้ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ระดับความสูง  1.30  เมตร  เหนือพื้นดิน

                      ตั้งแต่  10  เซนติเมตรขึ้นไป  พบว่าก าลังผลิตขึ้นปฐมภูมิสุทธิของสังคมพืชป่าเต็งรังขึ้นอยู่กับ
                      ปริมาณมวลชีวภาพของใบที่มีอยู่  โดยสังคมป่าเต็งรังที่มีไม้เต็งเป็นไม้เด่น  และขึ้นอยู่ในที่แห้งแล้ง

                      จะมีมวลชีวภาพของใบประมาณ  0.77  ตันต่อเฮกแตร์   และอัตราผลิตขั้นปฐมภูมิสุทธิเท่ากับ  3.601

                      ตันต่อเฮกแตร์.ปี  ซึ่งเมื่อพิจารณาทุกสังคมย่อยของป่าเต็งรังรวมกันแล้วจะมีปริมาณมวลชีวภาพของ

                      ใบระหว่า  1.28  +  0.28  ตันต่อเฮกแตร์  (พงษ์ศักดิ์  และมณฑล,  2523)  และมีอัตราผลิตขั้นปฐมภูมิ
                      สุทธิเท่ากับ  5.772  +  1.262  ตัน/เฮกแตร์ แต่เมื่อรวมปริมาณมวลชีวภาพของล าต้น  กิ่ง  และใบเข้า

                      ด้วยกันแล้ว  สังคมป่าเต็งรังจะมีประมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินทั้งหมดเฉลี่ยระหว่าง  126.11  +

                      52.69  ตันต่อเฮกแตร์  (พงษ์ศักดิ์  และมณฑล, 2523)
                             McColl  and  Grical  (1979)  กล่าวว่าการตัดไม้  แผ้วถาง  และเผาท าลายป่า  จะท าให้ธาตุ

                      อาหารสูญเสียออกไปจากระบบนิเวศ  ประมาณ  5 – 30  เปอร์เซ็นต์  โดยสูญเสียออกไปจากระบบ

                      ได้  4  ทางด้วยกัน  (Duvigneaud  and  Denacyer,  1970)    ดังนี้คือ  1.    โดยน าออกจากป่าในรูป

                      ผลผลิตของพืชไม่ว่าจะเป็นต้น  ผล  เมล็ด  หรือใบ  2.   โดยขบวนการชะล้าง  (Ieaching)   จากนั้น
                      ไหลซึมผ่านผิวดินที่จะพาธาตุอาหารลงไปสะสมอยู่ในดินชั้นล่าง  หรือสะสมอยู่ในน้ าใต้ดิน  3.

                      โดยการกร่อนของดิน  ซึ่งมีน้ าหรือลมเป็นตัวกระท า  (Soil    erosion)    4.    โดยการระเหิด

                      (Volatilization)  ของธาตุอาหารบางธาตุ  เช่น  ไนโตรเจน  กลับขึ้นไปสู่อากาศในรูปของก๊าซ
                             3.5.2 สมบัติทางฟิสิกส์ของดิน

                             สมบัติทางฟิสิกส์ของดินเป็นปัจจัยที่ส าคัญในการก าหนดว่าปริมาณธาตุอาหารที่มีอยู่ในดิน

                      นั้นเหมาะสมกับพืช  ที่จะน าไปใช้ประโยชน์เพื่อการเจริญเติบโตมากน้อยเพียงใด  ซึ่งมีอยู่หลาย
                      ประการที่มีความส าคัญต่อพืชทั้งทางตรงและทางอ้อม  (คณาจารย์ภาคปฐพีวิทยา, 2519)

                             เนื้อดิน  (Soil  texture)  เป็นสมบัติที่บ่งบอกความละเอียด  หรือความหยาบของดิน  โดยอยู่

                      ในรูปของสัตว์สัมพันธุ  (Relative – Proportions)  ของกลุ่มอนุภาคที่เป็นทราย  ทรายแป้ง  และดิน
                      เหนียว  (สุรศักด์, 2527)  โดยปกติเนื้อดินมีความเสถียร  ส่วนมากไม่แสดงการเปลี่ยนแปลงภายใต้

                      สภาพธรรมดาของการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร  (คณาจารย์ภาคปฐพีวิทยา,  2519)

                             เกษม  และคณะ  (2517)  ได้ศึกษาถึงผลการท าไร่เลือนลอยต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทาง

                      ฟิสิกส์บางประการในดินป่าดิบเขา  พบว่าความหยาบละเอียดของดินในที่ลาดชันต่างกันของป่าที่ถูก
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73