Page 62 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 62

45


                      3.3 การเก็บตัวอย่างดิน

                                  ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2553) ได้รายงานว่า ข้อมูลผลการวิเคราะห์ดิน
                      เป็นข้อมูลพื้นฐานแสดงสถานะภาพของดินที่เกี่ยวข้องกับความอุดมสมบูรณ์ของดินปริมาณธาตุ

                      อาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชปริมาณทั้งหมดของธาตุอาหารสมบัติของดินทั้งทางด้านแร่และจุล

                      สัณฐานดินทางกายภาพของดินและทางเคมีของดินซึ่งผลของการวิเคราะห์ดินจะมีความถูกต้อง
                      เชื่อมั่นได้เพียงใดขึ้นอยู่กับตัวอย่างดินที่เก็บมาดังนั้นจึงควรเก็บตัวอย่างดินให้ถูกหลักเกณฑ์เพื่อเป็น

                      ตัวแทนที่ดีของดินส่วนใหญ่ในพื้นที่นั้นๆให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้

                                  การเก็บตัวอย่างดินแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ

                                  3.3.1.เก็บตัวอย่างดินที่เปลี่ยนสภาพ (Disturbed soil sample) โดยเก็บดินหลายๆจุดของ

                                  แต่ละ
                      ชั้นดินน ามารวมกันใส่ลงในถุงเก็บตัวอย่างเรียกว่าดินรวมหรือดินถุง (Composite samples) ตัวอย่าง

                      ดินนี้น าวิเคราะห์
                                  สมบัติทางแร่ได้แก่ชนิดและปริมาณแร่ในดินขนาด Fine silt and clay size

                                  สมบัติทางกายภาพได้แก่เนื้อดินความหนาแน่นอนุภาคดินและแรงดูดยึดน้ าของดิน

                                  สมบัติทางเคมีได้แก่ปฏิกิริยาดินและปริมาณธาตุอาหารพืชในดินฯลฯ

                                  อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่จอบเสียมพลั่วเครื่องมือเฉพาะเช่นสว่านเจาะ  (Soil  auger)  หลอด
                      เจาะ (Soil sampling tube) และกระบอกเจาะดิน (Core type auger) เป็นต้นตามความเหมาะสมของ

                      สภาพดินและวัตถุประสงค์ในการเก็บ

                                  การเก็บตัวอย่างดินควรปฏิบัติดังนี้
                                  -   สามารถเก็บได้ตลอดปีแต่ช่วงเวลาที่เหมาะสมคือปลายฤดูปลูกหรือหลังเก็บพืชผล

                      เพื่อทราบสถานการณ์ของดินเช่นดินเป็นกรดเป็นด่างเพียงใดมีธาตุอาหารเหลือเท่าใดเพื่อเป็นข้อมูล

                      ส าหรับการแก้ไขปรับปรุงบ ารุงดินและการให้ปุ๋ยแก่พืชในฤดูถัดไป
                                  - ความชื้นในดินไม่ควรเก็บขณะดินเปียกมากหรือมีน้ าขังอยู่

                                  -  สถานที่เก็บตัวอย่างจะต้องเป็นตัวแทนที่ดีไม่อยู่ในบริเวณคอกสัตว์เก่าหรือมีปุ๋ย

                      ตกค้าง
                                  - ขนาดของแปลงพื้นที่ประมาณ 10-20 ไร่ควรเก็บประมาณ 10-20 จุดแล้วน ามารวมกัน

                      เป็น1 ตัวอย่างแต่ไม่ควรเกิน 25 ไร่

                                  วิธีเก็บตัวอย่างดิน

                                  ก าหนดจุดเก็บแบบซิกเซก (Zigzag) หรือตีกริด (Grid) เป็นรูปสี่เหลี่ยมหรือสามเหลี่ยม
                      กระจายให้ทั่วทั้งพื้นที่หรือเก็บตามความแตกต่างของลักษณะทางกายภาพของดินเช่นสีของดินชนิด

                      พืชที่ปลูกเนื้อดินการเจริญเติบโตของพืช
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67