Page 64 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 64

47


                                  2) ดินทรายแป้งหรือซิลท์ (Silt) มีอนุภาคอนินทรีย์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.002-0.02

                      มิลลิเมตรตามระบบสากลหรือ 0.002-0.05 มิลลิเมตรตามระบบ USDA
                                  3) ดินเหนียว (Clay) มีขนาดอนุภาคดินเล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร

                                  การจ าแนกกลุ่มขนาดของอนุภาคดิน  (Soil  separate)  จะแบ่งกลุ่มขนาดของอนุภาค

                      อนินทรีย์ ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2 มิลลิเมตร ดังนี้
                                  เนื้อดินที่มีขนาดไม่เกิน 2 มิลลิเมตรที่มีความผันแปรของสัดส่วนผสมของอนุภาคทั้ง 3

                      กลุ่มขนาดเมื่อตรวจสอบกับไดอะแกรมสามเหลี่ยมแจงประเภทเนื้อดิน (Soil textural triangle) ท าให้

                      เกิดเนื้อดิน 12 ประเภทส าหรับดินเพื่อการเพาะปลูกจ าแนกดินออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆคือ
                                  - กลุ่มดินเนื้อหยาบ (Coarse-textured soils) ประกอบด้วย 3 ประเภทคือ

                                       ดินทราย (Sand, S)

                                       ดินทรายร่วน (Loamy sand, LS)

                                       ดินร่วนทราย (Sandy loam, SL)
                                  - กลุ่มดินเนื้อปานกลาง (Medium-textured soils) ประกอบด้วย 4 ประเภทคือ

                                       ดินร่วนเหนียวปนทราย (Sandy clay loam, SCL)

                                       ดินร่วน (Loam, L)
                                       ดินร่วนปนทรายแป้ง (Silt loam, SiL)

                                       ดินทรายแป้ง (Silt, Si)

                                    - กลุ่มดินเนื้อละเอียด (Fine-textured soils) ประกอบด้วย 5 ประเภทคือ

                                       ดินเหนียว (Clay, C)
                                       ดินเหนียวปนทรายแป้ง (Silty clay, SiC)

                                       ดินเหนียวปนทราย (Sandy clay, SC)

                                       ดินร่วนเหนียว (Clay loam, CL)
                                       ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง (Silty clay loam, SiCL)

                                  ดินที่มีเนื้อต่างๆภายในกลุ่มดินใหญ่ๆเหล่านี้มีหลักการปฏิบัติด้านการเกษตรใกล้เคียง

                      กันอาทิการไถพรวนการชลประทานและการใส่ปุ๋ยเป็นต้น
                                  การรู้จักชนิดของเนื้อดินท าให้ทราบสมบัติเบื้องต้นของดินเช่นการอุ้มน้ าการดูดซับ

                      ธาตุอาหารต่างๆโดยทั่วไปกลุ่มขนาดดินร่วนเป็นกลุ่มเนื้อดินที่มีปัญหาในการจัดการดินน้อยกว่า

                      กลุ่มขนาดดินทรายและกลุ่มขนาดดินเหนียว
                                  ดินเนื้อหยาบอนุภาคไม่เกาะเป็นกลุ่มก้อนจึงมีลักษณะร่วนท างานง่ายมีการระบายน้ า

                      และถ่ายเทอากาศดีแต่ความสามารถในการอุ้มน้ าต่ าและดูดซับธาตุอาหารได้น้อยการจัดการดินจึง

                      ต้องค านึงถึงการให้น้ าและการใส่ปุ๋ยก าหนดอัตราและปริมาณต่อครั้งไม่มากเกินไป
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69