Page 28 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 28

1. การกรอนแบบแผน (sheet erosion) เกิดขึ้นบนพื้นที่ที่ความลาดชันไมมากนักอนุภาคดินจะถูกเคลื่อนยาย

            ในลักษณะแผกระจายทั่วไปพรอมกับน้ําที่ไหลบาพื้นผิวดิน
                   2. การกรอนแบบริ้ว (rill erosion) เกิดขึ้นบนพื้นที่ที่มีความลาดชันเล็กนอยถึงปานกลางแตไมคอยส่ําเสมอ

            เปนการสูญเสียดินไปตามรองเล็กๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวดิน ซึ่งอาจจะเกิดจากการที่การกัดเซาะของน้ําเริ่มรุนแรง แตรอง

            เหลานี้สามารถทําใหหายไปดวยเครื่องมือไถพรวนธรรมดา
                   3.  การกรอนแบบรอง (gully erosion)  มักเกิดบนพื้นที่ที่มีความลาดชันปานกลางหรือลาดชันสูงๆ  ซึ่ง

            กระบวนการกรอนคอนขางรุนแรง รองจะมีขนาดกวางและลึก อาจเกิดจากบริเวณรองน้ําธรรมชาติ รองที่เกิดจากการ

            ไถพรวน  รองทางเดินของสัตว  เสนทางตางๆ  รองระหวางแถวพืช  เมื่อมีปริมาณน้ําเพิ่มขึ้นจากฝนตกหรือการใหน้ํา

            ชลประทาน รองจะมีขนาดใหญขึ้น การที่จะทําใหรองเหลานี้หายไปตองใชเครื่องมือขนาดใหญและชนิดพิเศษ


                   4. การกรอนแบบทอ (tunnel erosion) มักจะเกิดบริเวณใตชั้นผิวดินที่มีชองทางใหน้ําไหลผานไดดี ชองทาง

            น้ําไหลเหลานั้นอาจเกิดจากการเชื่อมตอของชองวางขนาดใหญ  รูของสัตว  หรือรอยแตกระแหง  รูรากพืชที่ตายและ
            ถูกยอยสลายแลว  และเมื่อชองวางหรือรูเหลานี้ถูกน้ํากัดเซาะเรื่อยๆ  ก็จะขยายใหญขึ้น  จนคลายกับเปนทอ (piping)

            และบริเวณที่น้ําผานเขามา บางครั้งมีการกัดเซาะมากจนมีขนาดใหญและมีลักษณะคลายเหยือก (juggimg)


                   21.2)  การกรอนโดยลม (wind erosion)

                   มักพบบริเวณที่มีฝนนอย  โดยเฉพาะในชวงแหงแลงความรุนแรงจะขึ้นกับลักษณะความเร็วของกระแสลม
            ความมากนอยของพืชพรรณที่ปกคลุมดิน โดยทั่วไปจะไมมีความสัมพันธกับความลาดชันของพื้นที่



                   การประเมินการสูญเสียดินโดยการกรอนดวยวิธีสนาม

                   จะใชการคาดคะเนจากการสูญเสียชั้นดินบนซึ่งไดแกชั้นดิน A  ซึ่งเปนชั้นผิวดินที่ถูกรบกวนหรือชั้น

            ดินอนินทรียที่คลุกเคลาดวยอินทรียวัตถุ และชั้นดิน E ซึ่งเปนชั้นที่อนุภาคดินเหนียวและแรธาตุตางๆ  ถูกชะลางลง
            ไปสะสมในชั้นดินลางๆ (ตารางที่ 3)



            ตารางที่ 3  ชั้นของการกัดกรอน (degree of erosion classes)
               ชั้น      สัญลักษณ                  ชื่อเรียก                การสูญเสียของชั้นดิน * (%)

                1            E0       ไมมีการกอน (non eroded)                         0%

                2            E1       กรอนเล็กนอย (slightly eroded)                0 - < 25%

                3            E2       กรอนปานกลาง(moderately eroded)                 25-75%

                4            E3       กรอนรุนแรง (severe erosion)                     >75%
                5            E4       กรอนรุนแรงมาก (very severe erosion)             100%

            *รอยละการสูญเสียของชั้นดิน A และ/หรือ ชั้น E หรือของชั้นดินตอนบน 20 ซม. (ถาชั้นดิน A และ/หรือ ชั้นดิน E ดั้งเดิมมีความ

            หนานอยกวา 20 ซม.)



                                                           21
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33