Page 31 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 31

ประใหเห็นใน solum สีของดินอาจจะเปนสีแดง สีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีเทาก็ได ดินที่มีการระบายน้ําคอนขางมากนี้

            เหมาะสําหรับปลูกพืชบางชนิดเทานั้นและผลผลิตจะต่ํา  ถาไมมีการชลประทานที่ดี
                   6. การระบายน้ําดีมากเกินไป (excessively drained)  การไหลซึมของน้ําไปจากดินเปนไปอยางรวดเร็วมาก

            ดินที่มีการระบายน้ําแบบนี้สวนมาก  เปนพวกดินที่ประกอบดวยหินที่ยังไมสลายตัว  มีความลาดชันมาก  หรืออาจมี

            ความพรุนมาก หรืออาจจะประกอบดวยลักษณะทั้งสองอยาง สีของดินอาจเปนสีแดง สีน้ําตาล สีเหลือง หรือสีเทาก็
            ได จุดประจะไมปรากฏใหเห็นในดินชนิดนี้

                   เนื่องจากดินพวกนี้ไมสามารถจะเก็บความชื้นไวไดนาน   จึงไมเหมาะที่จะใชปลูกพืชที่เก็บเกี่ยวผลผลิต

            ทั่วไปๆ

                    25)  Flooding   -  ลักษณะน้ําทวม  :  ใหอธิบายรายละเอียด ดังนี้
                           25.1)    Depth   -  ความลึก  :  ใหบันทึกวาน้ําที่ขังอยูบนผิวดินนั้นอยูสูงขึ้นมาจากผิวดินเทาใด

                           25.2)    Duration  -   ระยะเวลา  :   ใหบันทึกวาระยะเวลาที่น้ําทวมนั้นยาวนานเทาใดในรอบป

            หนึ่งๆ หรือระยะเวลาหนึ่งๆ เชน บอกวา 4-5 เดือนในรอบป

                           25.3)    Frequency  -  ความถี่  :  ใหบันทึกวาความถี่ของการที่บริเวณนั้นถูกน้ําทวมวาเปนอยางไร
            ในรอบกี่ปจะทวมสักคราวหนึ่ง เชน 3-4 ปทวมสักครั้งหนึ่ง (3-4 year/a time) หรือทวมปละครั้งทุกป (once a year) เปน

            ตน

                    ถาหากน้ําไมเคยทวมใหบันทึกวา “none”
                    26)    Kind of vegetation  -  ชนิดของพืชพรรณ  :  ใหระบุชนิดของพืชที่พบในบริเวณนั้นๆ และการใช

            ประโยชนที่ดิน เชน ทํานา ทําไรขาวโพด เปนตน

                    27)    Genetic Horizon  -  ชั้นกําเนิด  (ยอมาจากชั้นกําเนิดดิน : Soil Genetic Horizons)  :  ชั้นดินที่มี
            ลักษณะเปนชั้นๆ  ขนานหรือเกือบขนานไปกับผิวหนาดิน  แตละชั้นมีลักษณะแตกตางกัน  เนื่องจากสมบัติทางกายภาพ

            เคมีชีวภาพ และลักษณะอื่นๆ เชน สีดิน เนื้อดิน โครงสรางดิน การยึดตัว ปฏิกิริยาดิน สิ่งเหลานี้สามารถสังเกตไดใน

            สนาม การเรียกชั้นดินหลัก จะใชอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ  ไดแก O, A, E, B, C และ R
                    O horizon  ชั้น O :  ชั้นดินที่มีองคประกอบสวนใหญเปนอินทรียวัสดุพวกซากพืชที่ยังไมสลายตัว  หรือ

            บางสวนสลายตัวไปแลว เชน ใบไม กิ่งไม มอสส (moss) ไลเคน (lichen)

                    A horizon ชั้น A : ชั้นดินแร (mineral horizon) ซึ่งเกิดอยูที่ผิวดินหรือใตชั้น O ประกอบดวยอินทรียวัตถุที่

            สลายตัวแลว ผสมคลุกเคลากับแรธาตุในดิน ไมมีสมบัติเดนที่แสดงวาเปนชั้น E หรือชั้น B หรือมีลักษณะสมบัติที่เปน
            ผลมาจากการไถพรวน การทําทุงหญาเลี้ยงสัตว หรือการกระทําอยางอื่นที่คลายกัน โดยปกติมักมีสีคล้ํา













                                                           24
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36