Page 29 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 29

22)  permeability - ความสามารถใหน้ําซึมผาน : ใหสังเกตดวยสายตาไดในสนาม โดยทั่วๆ ไปแลวสังเกต

            ไดจากชั้นที่คาดวามีการซาบซึมน้ํา หรือยอมใหน้ําไหลผานไดชาที่สุด ของ solum (ของชั้น A หรือ B ) หรือของชั้น
            substratum (ชั้นใตชั้น A หรือ B) ที่พบการแบงชั้นของความสามารถใหน้ําซึมผานของดินใหถือชั้นดังตอไปนี้

                   1. slow (ชา) : คาดวาดินมี hydraulic conductivity (สัมประสิทธิ์การซาบซึมน้ํา) นอยกวา 0.5 ซม./ชม.

                   2. moderate (ปานกลาง) : คาดวาดินมี hydraulic conductivity อยูระหวาง 0.5-15 ซม./ชม.
                   3. rapid (เร็ว) : คาดวาดินมี hydraulic conductivity มากกวา 15 ซม./ชม.



                   23) Ground water – น้ําใตดิน : ใหบันทึกวาตําแหนงที่ทําการเจาะสํารวจพบระดับน้ําใตดินลึกประมาณใด

            อาจสังเกตไดจากบอน้ําของเกษตรกรที่อยูในบริเวณใกลเคียง หากไมพบน้ําใตดินในหลุมที่เจาะสํารวจ


                   24) Drainage – การระบายน้ําของดิน : การแบงชั้นของการระบายน้ําของดินใหถือลักษณะตามกําหนดไวใน

            USDA soil drainage classes ดังตอไปนี้

                   0. การระบายน้ําเลวมาก (very poorly drained) :  น้ําจะไหลซึมไปจากดินชามากมีระดับน้ําใตดินตื้นมาก
            อาจจะอยูใกลกับผิวหรือมีน้ําขัง  เปนระยะเวลานานในปหนึ่งๆ  ดินที่จัดอยูในชั้นการระบายน้ําแบบนี้มักจะพบ

            ลักษณะดังตอไปนี้

                   - มักจะพบระดับน้ําใตดินลึกไมเกิน 50 ซม.จากผิวดิน ในระยะเวลานานถึง 6 เดือน หรือมากกวาในปหนึ่งๆ
                   - ดินที่มีการระบายน้ําแบบนี้ มักจะเกิดในบริเวณที่ราบหรือที่ราบต่ําเปนหนองและบึง เปนตน

                   - ลักษณะสีของดินบน (ระยะ 18 ซม.) ปกติจะมีสีเขม มี value นอยกวา 5.5 เมื่อดินแหง และนอยกวา 3.5

            เมื่อดินชื้น มี Chroma 2 หรือ นอยกวา
                   - ลักษณะสีของดินลาง โดยทั่วๆ ไปจะมีสีเทาออนหรือเทาแตบางทีก็อาจจะพบสีเขียวหรือสีน้ําเงิน จุดประ

            อาจจะมีหรือไมก็ได แตถาสังเกตดูแลว คา chroma ของจุดประควรจะเปน 2 หรือนอยกวา สําหรับ hue 10 YR   และ

            chroma 3 หรือนอยกวา สําหรับ hue 2.5 YR หรือสีเทากวานี้ high chroma ของจุดประจะไมมีในดินนี้ (เพราะเปน
            ลักษณะที่แสดงถึงขบวนการ เพิ่มออกซิเจน มากกวาขบวนการลดออกซิเจนในดิน

                   ดินที่มีการระบายน้ําเลวมากกวา  ดินจะเปยกชื้นจนเปนเหตุใหพืชที่ปลูกทั่วๆไปไมเจริญงอกงามถาไมมีการ

            ระบายน้ําชวย ยกเวนพวกขาวเทานั้น (จําลอง  ศิริพันธุ  2518)

                   1. การระบายน้ําเลว (poorly drained)  น้ําจะไหลซึมไปจากดินชามาก  ซึ่งจะทําใหดินยังคงเปยกชื้นอยูเปน
            เวลานาน  โดยปกติระดับน้ําใตดินในฤดูฝนจะอยูที่ระดับผิวดินเปนระยะเวลาสั้นกวา 6  เดือน  ดินที่มีการระบายน้ํา

            แบบนี้จะเกิดในที่ต่ํา  เชน  บึงและบริเวณน้ําขังในระหวางฤดูฝน  หรือน้ําขังในที่ราบที่มีคันกั้นไว  สาเหตุของการ

            ระบายน้ําเลวนี้เกิดขึ้นจากระดับน้ําใตดินตื้น  ในหนาตัดของดินมีชั้นที่น้ําซึมผานไดชาอยู  หรือมีน้ําไหลซึมมาจากที่
            อื่นที่สูงกวา หรืออาจจะเกิดจากสาเหตุหลายอยางรวมกันดังที่กลาวมาแลว










                                                           22
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34