Page 33 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 33

R horizon ชั้น R : ชั้นหินแข็งที่ยังไมมีการผุพังสลายตัว เชน หินแกรนิต หินบะซอลต หินควอตซไซต หิน

            ทราย หินปูน  ชั้นนี้จะตองเปนชั้นที่เชื่อมติดแนน ใชพลั่วขุดไมคอยเขาถึงแมไดรับความชื้น
                    AB horizon ชั้น AB : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะสวนใหญเหมือนชั้น A มากกวาชั้น B เดิมเรียกวา

            ชั้น A3

                    BA horizon ชั้น BA : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะสวนใหญเหมือนชั้น B มากกวาชั้น A เดิมเรียกวา

            ชั้น B1

                    EB horizon ชั้น EB : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะสวนใหญเหมือนชั้น E มากกวาชั้น  B
                    BE horizon ชั้น BE : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะสวนใหญเหมือนชั้น B มากกวาชั้น E

                    BC horizon ชั้น BC : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะสวนใหญเหมือนชั้น B มากกวาชั้น C เดิมเรียกวา

            ชั้น B3
                    CB horizon ชั้น CB : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง มีลักษณะสวนใหญเหมือนชั้น C มากกวาชั้น B เดิมเรียกวา

            ชั้น C1

                    E/B horizon ชั้น E/B : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง ที่แสดงลักษณะทั้งชั้น E และชั้น B อยางชัดเจน โดยมี

            สวนประกอบของชั้น B และสวนประกอบของชั้น E มีปริมาตรมากกวา

                    B/E horizon ชั้น B/E : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง ที่แสดงลักษณะทั้งชั้น B และชั้น E อยางชัดเจน โดยมี
            สวนประกอบของชั้น E ลอมรอบ สวนประกอบของชั้น B แตสวนประกอบของชั้น B มีปริมาตรมากกวา

                    B/C horizon ชั้น B/C : ชั้นดินในชวงเปลี่ยนแปลง ที่แสดงลักษณะทั้งชั้น B และชั้น C อยางชัดเจน โดยมี

            สวนประกอบของชั้น B ลอมรอบสวนประกอบของชั้น C และสวนประกอบของชั้น B มีปริมาตรมากกวา
                    ชั้นดินหลักหรือชั้นที่ไดแบงตามลําดับ  ยังมีการระบุความแตกตางหรือลักษณะยอยเองลงไปอีก  โดยใช

            สัญลักษณตัวพิมพเล็ก

                    a : การมีอัตราการยอยสลายวัสดุอินทรียที่สูงมาก ใชสําหรับชั้น   O
                    b : ชั้นดินโดยเฉพาะชั้นที่เกิดขึ้นมาโดยขบวนการเกิดดิน แลวถูกทับถม

                    c : มีการสะสมมวลสารพวก (concretion) หรือกอนทรงมน (nodule) ซึ่งสวนใหญจะเปนสารเชื่อมพวก เหล็ก

            อะลูมินั่ม แมงกานีสหรือไททาเนียม แตไมใชซิลิกา โดโลไมต แคลไซต หรือ สารละลายเกลืออื่นๆ
                    co : ใชเฉพาะชั้นลิมนิค แสดงถึงการตกตะกอนพีท (sedimentary peat)

                     d : บงชี้ถึงการจํากัดการเจริญเติบของรากทางกายภาพ หรือกระทําโดยมนุษย ไมมีสารเชื่อม เชน ชั้นดานที่

            เกิดจากการไถ

                    di : บงชี้ถึงการมีการสะสมไดอะตอมในชั้นลิมนิค
                    e : ใชสําหรับชั้น  O แสดงถึงการสลายตัวของวัสดุอินทรียยังไมสมบูรณ

                    f : ดินที่มีน้ําในดินกลายเปนน้ําแข็ง

                                                           o
                    ff : บงชี้ถึงชั้นดินที่มีอุณหภูมิตอเนื่องต่ํากวา 0 C และไมมีน้ําแข็งเพียงพอที่จะทําการเชื่อมแข็ง





                                                           26
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38