Page 24 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 24

3. หินชิสต (schist) เปนหินแปรที่องคประกอบผันแปรไปไดมาก และมีการเรียงตัวเปนแผนของแรแบบเนื้อ

            ไร
                   4.  หินไนส (gneiss)  เปนหินแปรเนื้อหยาบ  ลักษณะของเนื้อหินเปนแบบมีแถบลายทาง  แถบอาจจะคดโคง

            หงิกงอได องคประกอบเชิงแรที่พบบอยในเมืองไทยคลายๆ กับหินแกรนิต คือมี ควอตซ เฟลดสปาร ไมกา และมีแร

            อื่นๆ ปนอยูบาง

                   5. หินควอตซไซต (quartzite) แปรสภาพมาจากหินทราย องคประกอบสวนใหญก็คือ ควอตซ เปนหินที่ไม

            มีแรเรียงตัวเปนแผนบาง
                   6. หินออน (marble) แปรสภาพมาจากหินปูนเนื้อละเอียดแนน ทําปฏิกิริยากับกรดเกลือเจือจาง หินออนเปน

            หินแปรที่แรไมเรียงตัวกันเปนแผนบาง  หินออนบริสุทธิ์จะมีสีขาว  แตสิ่งเจือปนจะทําใหมีสีไดหลายสี (เอิบ  เขียว

            รื่นรมณ  2541 คูมือปฏิบัติการสํารวจดิน)


                   14) Parent Material – วัตถุตนกําเนิดดิน : ใหบันทึก วัตถุตนกําเนิดของดินที่พบนั้นๆ ถาไมทราบควรเวน

            ชองวางไวและศึกษาใหรูใหไดในภายหลัง
                   วัตถุตนกําเนิดดิน คือ วัสดุดินตางๆ ทั้งที่เปนอินทรียสาร และอนินทรียสาร ที่เกาะตัวกันอยางหลวมๆ แลว

            เปลี่ยนแปลงไปเปนดิน

                   14.1 ชนิดของวัตถุตนกําเนิดดิน จําแนกออกไดเปน

                   14.1.1 วัตถุตนกําเนิดดินอินทรีย แบงออกไดเปน 4 ประเภท คือ
                          14.1.1.1)  วัสดุไฟบริก (fibric materials)  เปนวัสดุอินทรียที่สลายตัวนอย  มีชิ้นสวนที่ยังแสดง

            ลักษณะของสิ่งมีชีวิตดั่งเดิม เชน ชิ้นสวนของพืชตางๆ อยูมาก เชนพีต (peat)

                          14.1.1.2)  วัสดุเฮมิก (hemic materials)  เปนวัสดุอินทรียที่สลายตัวปานกลาง  บางสวนสามารถ

            สังเกตเห็นไดวาเปนสวนไหนของพืชหรือสัตว เชน mucky peat
                          14.1.1.3)  วัสดุแซพริก (sapric materials)  เปนวัสดุอินทรียที่สลายตัวมาก  สวนใหญกลายเปน

            อินทรียวัตถุ และไมสามารถจะแจกแจงชิ้นสวนของวัสดุวามาจากอะไรได เชน มัก (muck)

                          14.1.1.4) วัสดุลิมนิก (limnic materials) เปนวัสดุผสมระหวางอนินทรียสารกับอินทรียสาร หรือ
            ตกตะกอนทางเคมีจากสารละลาย เชน เปนของผสมของอัลจี (algae) ไดอะตอม (diatom) มูลสัตว น้ํา พืชลอยน้ําที่

            สลายตัว จะขาดสารเสนใย

                   14.1.2 วัตถุตนกําเนิดดินที่เปนอนินทรียสารหรือวัตถุตนกําเนิดดินแรธาตุ  ที่พบมากในประเทศไทยจําแนก

            ไดดังนี้

                          14.1.2.1)  วัสดุตกคาง (residuum)  เกิดจากการผุผังอยูกับที่ตอเนื่องจากหินแข็งขึ้นมาดานบน  มี
            ลักษณะที่เกี่ยวกับชั้นหินดานลางแลวแตวาจะเปนชนิดใด เนื้อประกอบดวยอนุภาคตางๆ ที่ไมมีการแยกขนาด บางที่

            พบเศษหรือชิ้นสวนของหินที่กําลังสลายตัวดวย






                                                           17
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29