Page 23 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 23

3. หินตะกอนที่เกิดจากการตกตะกอนทางชีวะเปนสวนใหญ

                   หินโคคีนา (coquina)  เปนหินปูนที่มีชิ้นสวนเปลือกหอยในลักษณะตางๆ  เปนองคประกอบ  เปลือกหอย

            เหลานี้คาดวาเกิดในสภาพแวดลอมขณะมีการตกตะกอนของหินปูนนั้น
                   ชอลก (chalk)  เปนหินปูนเนื้อละเอียด  ออน  เต็มไปดวยรูพรุน  สวนประกอบหลักของมันก็คือเปลือกของ

            สัตวทะเลขนาดเล็กมาก ปกติจะมีสีขาว

                   หินปูนฟอสซิล (fossiliferous limestone) มีชิ้นสวนของซากสัตวทะเล เชน เปลือกหอย ปะการัง ไครนอยด

            (crinoid) เต็มไปหมด  และเชื่อมตัวกันดวยแคลเซียมคารบอเนต
                   ถานหิน (coal) มีลักษณะสีดําแข็งแตเปราะ  เปนวัตถุเชื้อเพลิงที่เกิดจากการสะสมตัวของสวนที่สลายตัวของ

            พืช และเกิดอยูเปนชั้นไดเนื่องจากมีสารอื่นมาตกทับถมตอนบน องคประกอบสําคัญคือ คารบอน อาจจะกลาววาเปน

            การตกตะกอนเชิงกลศาสตรกับชีวะรวมกันก็ได
                   ไมกลายเปนหิน (petrifield wood)  เกิดจากการแลกเปลี่ยนที่กันของของเหลวภายในเซลไม  กับซิลิกาขาง

            นอก เมื่อมีการทับถม และแข็งตัวเปนหิน มีลักษณะเหมือนไมเมื่อดูภายนอก แตเนื้อแข็งเปนหิน

                   หินแปร

                   หินแปรเปนหินที่แปรสภาพมาจากเดิม โดยอิทธิพลของอุณหภูมิและความดัน แบงออกเปน 2 กลุมใหญๆ คือ
                   กลุมหินที่แรเรียงตัวเปนแผน (foliated rocks)  เนื้อหินจะมีลักษณะเปนริ้วขนาน  เนื่องจากการเรียงตัวเปน

            แผนของแร แบงลักษณะเนื้อออกเปน

                   1. เนื้อเปนแถบลายทาง (gneissic layering) เมื่อมีแรเรียงตัวเปนชั้นๆ สลับสีกัน

                   2. เนื้อไร (schistose) มีการเรียงตัวของแร แตเปนแรชนิดเดียวกัน ไมมีการสลับหรือการเรียงตัวนั้น ไมเปน
            แผนตอเนื่องกันมาก

                   3.  เนื้อมีแนวแตกแบบหินชนวน (slaty cleavage)  ถาหากการเรียงตัวเปนแผนเกิดในหินเนื้อละเอียด  และ

            อาจจะทําใหแตกออกเปนแผนบางๆ ได

                   กลุมหินแรไมมีการเรียงตัวเปนแผน (nonfoliated rocks)  พวกนี้มักจะมีลักษณะเปนกอนทึบ  มักจะเกิดกับ
            หินที่มีแรองคประกอบสวนใหญเพียงอยางเดียว

                   วิธีแจกแจงชนิดของหินแปร  วิธีแจกแจงหินแปรที่งายที่สุด  คือ  การดูจากการเรียงตัวเปนแผนของแรกอน

            แลวจึงดูแรองคประกอบอีกครั้งหนึ่ง   กลุมแรบางชนิดเปนปจจัยชวยบอกใหรูวาหินแปรนั้นแปรสภาพมารุนแรง

            หรือไม เชน พวกเฟลดสปารและแอมฟโบลในหินแปร แสดงวาหินแปรสภาพมาขั้นสูง
                   หินแปรที่พบมาก

                   1. หินชนวน (slate) คลายหินดินดาน แตแข็งกวา เนื้อแนนกวา มีแนวแตกเรียบ อาจจะมีสีเทา ดํา แดง ก็ได

            แรตรวจไดยาก สวนมากเปนแรดินเหนียว และมีควอตซอยู
                   2. หินฟลไลต (phyllite) คือหินที่แปรสภาพขั้นสูงขึ้นไปจากหินชนวน แตยังไมเขาขั้นจะเปนชิสต  มักจะมี

            ไมกา มีความมันวาวมากกวา และจับลื่นมือกวา






                                                           16
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28