Page 32 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 32
ภาพที่ 7 ชั้นดิน (soil horizon)
E horizon ชั้น E : ชั้นดินแรที่มีการสูญเสียอนุภาคดินเหนียว เหล็ก และอะลูมิเนียม เปนผลใหปริมาณอนุภาค
ขนาดทรายและทรายแปงตกคางอยูในปริมาณที่สูง ชั้นนี้จะมีสีจางกวาชั้นดินใกลเคียง จึงเรียกวาชั้นซึมชะ (eluvial
horizon)
B horizon ชั้น B : ชั้นดินที่เกิดใตชั้น A, E หรือ O เปนชั้นที่มีการสะสมพวกดินเหนียว เหล็ก อะลูมิเนียม
ฮิวมัส คารบอเนต ยิปซัม ซิลิกา ซึ่งถูกชะลางมาจากชั้นบน หรือมีรองรอยที่แสดงถึงการเคลื่อนยายคารบอเนตหรือการ
สะสมพวกเซสควิออกไซด (sesquioxide) หรือเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในชั้น ชั้นสะสมของแร (illuvial horizon)
อยูในชั้นนี้
C horizon ชั้น C : ชั้นที่ไมรวมชั้นหินแข็ง เปนชั้นที่ไมคอยไดรับอิทธิพลจากกระบวนการทางดิน
(pedogenic process) ขาดสมบัติของการเปนชั้น O, A, E และ B องคประกอบของชั้น C อาจเหมือนหรือไมเหมือนกับ
ชั้น A,E หรือ B ก็ได ปกติถือวาเปนชั้นวัตถุตนกําเนิดดิน นอกจากนี้ยังรวมถึงตะกอนตางๆ หินผุเนื้อยุย (saprolite) หิน
ที่เกาะตัวกันหลวมๆ (unconsolidated bedrock) หรือชั้นที่มีการสะสมซิลิกา คารบอเนต ยิปซัม หรือเกลือที่ละลายไดงาย
ที่อยูในสภาพที่แข็งตัวก็ถือวาเปนชั้น C
25