Page 26 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 26
(สันดินริมน้ํา) low terrace (ตะพักลําน้ําระดับต่ํา) tidal flat (ที่ราบน้ําขึ้นถึง) denudation surface (พื้นผิวของการเกลี่ย
ผิวแผนดิน) dissected erosion surface (พื้นผิวเหลือจากการกรอนซอยแบง) หรือ strath terrace (ตะพักเหลือจากการ
กรอน) เปนตน
16) Slope – ความลาดชัน : ใหบันทึกตัวเลขเปน % ของ slope
17) Topography – ลักษณะภูมิประเทศ : ใหบันทึกลักษณะภูมิประเทศซึ่งสัมพันธ กับ ความลาดชัน และการ
แบงชั้นความลาดชันของพื้นที่ในประเทศไทยนั้น ไดแบงออกเปน 8 ชั้น ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ชั้นความลาดชันและสภาพภูมิประเทศ
สัญลักษณ รอยละของความลาดชัน สภาพภูมิประเทศ (topography)
A 0-2 ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
(level to nearly level)
B 2-5 ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
(gently undulating)
C 5-12 ลูกคลื่นลอนลาด
(undulating)
D 12-20 ลูกคลื่นลอนชัน
(rolling)
E 20-35 เนินเขา
(hilly)
F 35-50 สูงชัน
(steep)
G 50-75 สูงชันมาก
(very steep)
H >75 สูงชันมากที่สุด
(extremely steep)
18) Elevation – ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง : ความสูงจากระดับน้ําทะเลของตําแหนงที่เจาะสํารวจ
โดยใชเครื่อง GPS หรือจากแผนที่ภูมิประเทศหนวยบันทึกคาเปนเมตร
19) Topographic position – ตําแหนงที่เจาะสํารวจบนสภาพภูมิประเทศ : ใหบันทึกวาอยูบริเวณใด ดังภาพที่ 6
19