Page 25 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 25

14.1.2.2)  เศษหินเชิงเขา (colluvium) เกิดจากชิ้นสวนหินและแรที่ผุผัง แลวรวงหลนลงมาจากสวน

            ที่สูงลงไปหาที่ต่ําเพราะแรงดึงดูดของโลก  และทับถมกันอยูไมไกลจากแหลงเดิมโดยยังเปนชิ้นสวนที่มีรูปรางและ
            ขนาดคละกัน (ไมมีการคัดขนาด)  หลังจากนั้นจึงเกิดเปนดินขึ้น  มักพบรวมกับวัสดุตกคาง  และอยูใกลกับภูเขาหรือ

            หนาผา

                          14.1.2.3) ตะกอนน้ํา (water deposits) เกิดจากการสะสมของตะกอนที่ถูกน้ําพัดพามา ลักษณะเดน

            คือ  จะมีการคัดขนาดทั้งในแนวดิ่ง (vertical)  และแนวราบ (horizontal)  ปกติตะกอนจะมีขนาดเทาๆ  กันในบริเวณ
            หนึ่งๆ  ขนาดจะใหญเมื่ออยูใกลแหลงของตะกอน  และขนาดของตะกอนจะเล็กลงทางปลายน้ํา  รูปรางของตะกอนมี

            ความกลมมนสูงกวา 2 ชนิดแรก ตะกอนน้ําแบงออกเปนมากมายหลายชนิด

                          1. ตะกอนน้ําพาเฉพาะแหง หรือตะกอนน้ําพาทองถิ่น (local alluvium) ลักษณะของตะกอนจะไม

            คอยกลมมนเกิดจากอิทธิพลการพัดพาของน้ําระยะใกล ไมคอยมีการคัดขนาด
                          2. ตะกอนน้ําพา หรือตะกอนลําน้ํา (riverine alluvium) มีการคัดขนาดของตะกอนดีกวาตะกอนน้ํา

            พาเฉพาะแหงมาก และพบเกี่ยวของกับธารน้ํา ขนาดใหญถึงเล็ก

                          3.  สิ่งที่ทับถมในทะเลสาบ (lacustrine deposits)  เปนตะกอนละเอียดทับถมในทองทะเลสาบ
            โดยเฉพาะคือในทะเลสาบน้ําจืด

                          4. ตะกอนทับถมภาคพื้นสมุทร (marine deposits) เปนตะกอนที่ตกทับถมโดยอิทธิพลของน้ําเค็ม

            ในทะเลและมหาสมุทร  จะไมแสดงชั้นการทับถมตามฤดูกาล (varving)  และมักมีสวนหลงเหลือของสิ่งมีชีวิตใน

            ทะเล
                   ตะกอนที่ตกทับถมโดยอิทธิพลของน้ํานี้  พบในสภาพภูมิประเทศตางๆ  ในปจจุบันมากมายรายละเอียด

            เพิ่มเติมสามารถศึกษาไดจากหนังสือเกี่ยวกับกําเนิดดิน และการสํารวจดินโดยทั่วไป

                          14.1.2.4) ตะกอนทับถมโดยอิทธิพลของลม (eolian deposits)  เปนตะกอนที่เคลื่อนยายมาทับถม

            โดยอิทธิพลของลม  ตะกอนมีการคัดขนาด  สวนใหญมีขนาดเล็ก  ตั้งแตขนาดทรายละเอียดลงไป  พบในบริเวณใกล
            ชายหาดของแมน้ําหรือทะเล  บางทีตกเปนปริมาณมากๆ  ได  ตะกอนจะมีผิวเรียบเนื่องจากมีการขัดสีกันของตะกอน

            มาก เชน ในบริเวณเนินทราย (sand dune) ที่ราบดินลมหอบ (loessial plains) เปนตน บางครั้งแสดงชั้นการทับถม แต

            บางครั้งอาจจะคัดขนาดตั้งแตใหญไปหาเล็ก แตไมแสดงชั้นชัดเจน แบงออกไป
                          1.  ดินลมหอบหรือตะกอนลมหอบ (loess)  อนุภาคเล็ก  ตกตะกอนเปนเนื้อเดียวกัน  แตตอนบน

            ละเอียดกวาตอนลาง

                          2. ตะกอนทราย (sand) อนุภาคขนาดทรายตกเปนชั้นและมีความหนาสม่ําเสมอ

                          3. ฝุน (dust) เปนอนุภาคแขวนลอย และตกทับถมในปริมาณนอยตอครั้ง
                          4. วัสดุจากหยาดน้ําฟา (precipitation induced materials) เปนสารละลายและฝุน ที่ตกลงมากับ

            หยาดน้ําฟา (เอิบ  เขียวรื่นรมณ  2541  คูมือปฏิบัติการสํารวจดิน)

                   15) Land form –ภูมิสัณฐาน : ใหบันทึกรายละเอียดวาภูมิสัณฐานบริเวณที่พบเปนอะไร เชน alluvial plain

            (ที่ราบตะกอนน้ําพา) alluvial terrace (ตะพักลําน้ํา)  river terrace (ตะพักลุมน้ํา) backswamp (ที่ลุมหลังสันดิน) levee



                                                           18
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30