Page 22 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 22

หินกรวดเหลี่ยม (breccia) ลักษณะคลายคลึงกันกับหินกลมมน แมวาตะกอนมีลักษณะเปนเหลี่ยม แสดงวา

            เกิดจากการพัดพามาตกตะกอนในระยะใกล
                   หินทราย (sandstone) ประกอบดวย ซิลิกา เปนสวนใหญ มีลักษณะเหมือนทรายเกาะตัวกัน มีสีตางๆ ได

            หลายสี และมีสารเชื่อมไดหลายๆ อยางดวย ถามีเฟลดสปารอยูมากกวารอยละ 25 เรียกวา อารโคส (arkose) แตถามี

            แรดินเหนียว และชื้นสวนของหินดั้งเดิมอยางอื่นประกอบดวยเรียกวา เกรยแวก (greywacke)

                   หินดินดาน  (shale) คือดินเหนียวที่แข็งตัว องคประกอบสวนใหญเปนแรดินเหนียว อาจจะมีทรายละเอียด

            หรือทรายแปง (silt)   อยูดวย  และอาจจะมีองคประกอบอยางอื่นอยูดวยได  เชน  พวกเหล็กออกไซด  ปกติแลว
            หินดินดานไมมีสารเชื่อม  เพราะตัวมันเองเชื่อมกันไดดีอยูแลว  หินจะมีลักษณะเปนชั้นบางอัดตัวกัน  สําหรับหินที่มี

            ตะกอนดินเหนียวอัดตัวกัน แตไมมีชั้นแบบหินดินดาน เรียกวา หินโคลน (mudstone)

                   หินทรายแปง (siltstone) ไดแกพวกหินที่มีเนื้อละเอียดมากจนเทากับฝุน แตไมละเอียดเทาดินเหนียว ถูกน้ําก็
            จะไมเหนียว

                   2. หินตะกอนที่เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีเปนสวนใหญ

                   หินปูน (limestone)  มีอยูหลายชนิด  ประกอบดวยแรแคลไซดเกือบทั้งหมด  มีทั้งที่เปนผลึกใหญ

            (macrocrystalline)  และพวกผลึกเล็ก (microcrystalline)  หินจะทําปฏิกิริยากับกรดเกลือเจือจางเปนฟองฟูและมักมี
            ลักษณะเนื้อสมานแนน (massive) หรือเนื้อแบบผลึก (crystalline)

                   หินปูนเนื้อไขปลา (oolitic limestone) เปนหินปูนที่เนื้อหินประกอบดวยเม็ดเล็กๆ ของแคลเซียมคารบอเนต

            เกาะกันคลายไขปลา

                   หินยิปซัม (rock gypsum)  เปนหินที่เกิดจากการตกตะกอนของยิปซัม  จะออน  แรองคประกอบเรียกวา
            ยิปซัมหิน

                   หินเกลือ (rock salt) ประกอบดวยแรเฮไลต เกิดจากการตกตะกอนของโซเดียมคลอไรด ถาปลอยไวจะดูด

            น้ําและชื้นได ถาหากวาเรียกโดยเนนแรองคประกอบ จะเรียกวาเกลือหิน
                   หินเหล็กไฟ (flint) เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีของซิลิกาจากน้ําใตดิน องคประกอบสําคัญก็คือพวกซิลิกา

            แตไมเกิดผลึกใหเห็น

                   ศิลาแลง (laterite)  เกิดจากการเคลื่อนไหวของน้ําใตดินที่ขึ้นลง  ทําใหมีการตกคางของพวกเหล็กออกไซด

            แมงกานีสออกไซด เกาะกันเปนชั้น ลักษณะเปนแบบมวลสารพอกหรือสารเม็ดกลม (concretionary or nodule) สาร
            เชื่อมก็เปนพวกเหล็กออกไซด  เหมือนเนื้อตะกอนของมันเอง  ศิลาแลงอาจจะเกิดจากการที่ซิลิกาถูกเคลื่อนยาย

            ออกไปมาก จากการสลายตัวของหินอัคนี เชน พวกหินแกรนิต หรือหินอื่นๆ ก็ได และทําใหสวนที่หลงเหลืออยูเปน

            พวกออกไซดของเหล็ก  อะลูนัม  และแมงกานีส  ปจจุบันมีผูนิยมเรียกในทางวิศวกรรมวา  ลูกรังเมื่อเปนเม็ดเดี่ยวๆ
            หรือ แมรังเมื่อเชื่อมยึดจับตัวกันแนนหรือเปนแผนแข็ง (duricrust)

                   มารล (marl) เปนหินปูนทุติยภูมิ เกิดจากหินปูนที่สลายตัวแลวเกาะจับตัวกันใหม กับแรดินเหนียว จะออน

            ลักษณะการจับตัวกันเปนแถบ สารเม็ดกลม หรือมวลสารพอก ทําปฏิกิริยากับกรดเกลือเจือจางเกิดฟองฟู






                                                           15
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27