Page 21 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 21

เนื้อละเอียด  หินที่สําคัญอื่นๆ  อีกคือไซอีไนต (syenite)  ซึ่งมีลักษณะคลายหินแกรนิต  แตมีควอตซนอย  และไมมี

            แพรหลายนัก และพวกแทรไคต (trachyte) ซึ่งมีลักษณะคลายไรโอไลต
                   2.ไดโอไรตและแอนดีไซต (diorite and andisite) สีปานกลาง (เขมแตไมคล้ํา) มีแรองคประกอบสําคัญคือ

            พวกแพลจิโอเคลสและเฟอรโรแมกนีเซียม และอาจมีควอตซผสมอยูบาง ไดโอไรตเนื้อหยาบ แอนดีไซตเนื้อละเอียด

                   3.  แกบโบรและบะซอลต (gabbro and basalt)  สีเขม  ใหปฏิกิริยาเปนดาง  แรองคประกอบที่สําคัญคือ

            ฮอรนเบลนด แพลจิโอเคลส และ เฟอรโรแมกนีเซียมอื่นๆ แกบโบรเนื้อหยาบ บะซอลตเนื้อละเอียด
                   หินตะกอน

                   หินตะกอนหรือหินชั้นเกิดจากการทับถมของชิ้นสวนของหินดั้งเดิม  หรือตกตะกอนทางเคมีของสารละลาย

            หินตะกอนเนื้อผสม (clastic rocks)  ที่เกิดจากชั้นสวนของหินดั้งเดิมนั้น  จะตองผานกระบวนการสรางหินตะกอน

            (lithification) กอน ซึ่งแบงออกเปน 3 กระบวนการใหญๆ คือ
                   1. การอัดตัว (compaction) เนื่องจากน้ําหนักที่ทับถมลงเรื่อยๆ เปนการไลน้ําออกจากชิ้นสวนหิน

                   2.เกิดการเชื่อมตัว (cementation)   ซึ่งปกติเปนการตกตะกอนทางเคมีของสารในสภาพแวดลอมการ

            ตกตะกอน ทําใหมีสารเชื่อม (cementing agent) ขึ้น
                   3. การเกิดผลึกใหม (recrystallization) เกิดกับพวกตะกอนอายุมาก มีแรงอัดทําใหเกิดผลึกของแรขึ้น

                   หินตะกอนไมจําเปนตองผานกระบวนการครบทั้ง 3 กระบวนการ อาจจะผานเพียงกระบวนการในขอ 1 และ

            2 ก็เปนหินตะกอนได

                   การเกิดหินตะกอน กระบวนการเกิดของหินตะกอนแบงออกไดในลักษณะใหญๆ คือ

                   1. เกิดโดยกรรมวิธีทางกลศาสตร (mechanical) คือการทับถมกันของชิ้นสวนหินเดิม
                   2. เกิดทางเคมี (chemical) เปนการตกตะกอนทางเคมี พบมากในรูปของแคลเซียมคารบอเนตหรือพวกซิลิกา

                   3.  เกิดทางชีวะ (biological)  สวนมากจะเกี่ยวกับพวกเปลือกหอย  หรือพวกพืชที่ตกตะกอนทับถมกัน  และ

            กลายเปนหินตะกอนไปในที่สุด  แตในธรรมชาติจริงๆ  แลว   การเกิดหินตะกอนทุกอยางจะเกี่ยวของกันมาก  ไมได
            แยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง

                   หินตะกอนที่พบมาก

                   1. หินตะกอนเนื้อผสม มีกระบวนการเกิดทางกลศาสตรเปนสวนใหญ เปนการทับถมและผานกระบวนการ

            สรางหินตะกอนของชิ้นสวนของหินตางๆ

                   หินกรวดมน (conglomerate)  ประกอบดวยตะกอนที่เปนกรวด  หรือทรายเชื่อมเกาะกันอยูดวยสารเชื่อม
            ตะกอนมีลักษณะกลมมน  แสดงวาถูกกระบวนการพัดพาเปนเวลานาน  กรวดและทรายมักเปนพวกแรควอตซ  แตจะ

            เปนอยางอื่นก็ได และสารเชื่อมอาจเปนวัสดุชนิดเดียวกัน กับตะกอนก็ได เชน ตะกอนอาจเปนซิลิกา และสารเชื่อมก็

            เปนซิลิกาดวย หรือตะกอนอาจเปนชิ้นสวนของหินปูน และสารเชื่อมเปนแคลเซียมคารบอเนตก็ได









                                                           14
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26