Page 20 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 20

13) Geology -  ธรณีวิทยา :  ใหระบุถึงหนวยหินตางๆ  รวมทั้งหนวยของตะกอนที่พบ  ดูไดจากแผนที่

            ธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม
                   หินที่เราพบมาก  และเปนวัตถุใหกําเนิดของดินนั้น  แบงออกเปน 3  ชนิดใหญๆ  ดวยกัน  คือ  หินอัคนี  หิน

            ตะกอน และหินแปร หินตางๆ เหลานี้เมื่อเกิดการผุพังอยูกับที่ (weathering) แลวอาจจะกลายเปนวัตถุตนกําเนิดดิน

            อยูกับที่ (sedentary soil parent materials) เมื่อไมไดมีการเคลื่อนยายไปจากที่เดิม และอาจจะเปนวัตถุตนกําเนิดที่ถูก
            พัดพามาทับถมกันโดยพาหะทางธรณี (transported soil parent materials) ก็ได

                   หินอัคนี

                   หินอัคนี ไดแกหินที่เกิดจากการตกผลึกของแร ที่ไดจากการเย็นตัวของหินหนืด (magma) หินอัคนีมักจะไม

            ปรากฏใหเห็นเปนชั้น นอกจากหินภูเขาไฟ ซึ่งอาจจะเกิดจากลาวา (lava) ไหลออกมาทับถมกันเปนชั้นๆ ได แรตางๆ
            ที่ประกอบเปนเนื้อหินอัคนี  มักมีลักษณะเปนผลึกเกาะกันแนน  และไมมีซากดึกดําบรรพใหพบ  อุณหภูมิที่มีการตก

            ผลึกของแรตางๆ ในหินอัคนีก็คือชวง 600-1,200 องศาเซลเซียส ซึ่งหินหนืดบางชนิดขณะที่มีการเย็นตัวลงนั้น จะมี

            พวกสารระเหิดไดปนอยูดวย  แตเมื่อความดันลดลง  สารระเหิดก็จะระเหิดออกไป  สวนที่เหลืออยูก็จะจับตัวกันเปน

            หินอัคนี
                   องคประกอบของหินอัคนี  หินอัคนีประกอบดวยแรหลายชนิด  แตที่พบเปนองคประกอบของหินอัคนีมาก

            ที่สุด ไดแก แรเฟลดสปาร ควอตซ ไมกา ไพรอกซีน แอมฟโบล  แมกนีไทต โอลิวีน ตามลําดับ และจะพบอยูเสมอ

            ในปริมาณนอยคือ แรไพไรต อะพาไทต และ เซอรคอน นอกจากนี้ยังมีแรชนิดอื่นๆ อยูบาง เปนปริมาณเล็กนอย
                   เนื้อหินอัคนี หมายถึงรูปราง การจัดวาง และขนาดของผลึกแรในหินอัคนีแบงออกไดเปน

                   1. เนื้อหยาบ ประกอบดวยผลึกแรขนาดใหญสม่ําเสมอกัน มองเห็นไดงายดวยตาเปลา

                   2. เนื้อละเอียด เนื้อแนน ผลึกแรเล็กมาก มองไมเห็นดวยตาเปลา
                   3. เนื้อดอก เนื้อหินมีทั้งผลึกใหญที่เปนแรดอก (phenocryst) และผลึกละเอียดกวาเปนแรพื้น (groundmass)

            เนื้อดอกเกิดขึ้นไดกับหินอัคนีเนื้อหยาบ และเนื้อละเอียด

                   4. เนื้อแกว เนื้อแนน ลักษณะเหมือนแกว เกิดจากการเย็นตัวอยางรวดเร็วมากของหินหนืด

                   5. เพกมาไทต  เนื้อหยาบมาก  ไดแกหินอัคนีที่เย็นตัวชามาก  ผลึกแรขนาดหลายๆเซ็นติเมตร  บางทีอาจเปน
            เมตร

                   6. เนื้อผสม เปนเนื้อผสมของทั้งลาวาที่พนออกมาจากปลองภูเขาไฟ และหินปลองภูเขาไฟมีลักษณะคลายๆ

            พวกหินตะกอนเนื้อผสม

                   การเกิดของพวกหินอัคนี แบงออกไดเปน 2 แบบใหญๆ คือ
                   1. เย็นตัวภายในเปลือกโลกเปนหินอัคนีแทรกซอน (intrusive or plutonic igneous rocks) เนื้อหยาบ

                   2. เย็นตัวบนผิวโลก เปนหินอัคนีพุ (extrusive or volcanic igneous rocks) เนื้อละเอียด

                   หินอัคนีที่พบมาก
                   1. แกรนิตและไรโอไลต (granite and rhyolite) สีจาง องคประกอบเชิงแรที่สําคัญคือ โพแทชเฟลดสปาร

            ควอตซ แพลจิโอเคลส ไบโอไทต และแรกลุมเฟอรโรแมกนีเซียม กับแรอื่นๆ หินแกรนิตเนื้อหยาบ สวนไรโอไลต




                                                           13
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25