Page 30 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 30
22
2532 ก) โสนอัฟริกันเปนพืชที่มีไนโตรเจนสูงประมาณ 2-3 เปอรเซ็นต (Becker และ คณะ, 1990) ในขณะที่
สมศรีและคณะ (2538 ก) รายงานวาไนโตรเจนของโสนเมื่อปลูกในดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู
ระหวาง 1.5-3 เปอรเซ็นต มีคา C/N ratio ต่ําประมาณ 14-22 อยางไรก็ตาม เปอรเซ็นตไนโตรเจนจะแปรป
รวนขึ้นอยูกับวันที่ปลูก คา C/N ratio ที่ตําแสดงใหเห็นวางายตอการยอยสลายและปลดปลอยธาตุอาหารให
กับพืชที่ปลูกตามมา
สําหรับอัตราเมล็ดพันธุของโสนอัฟริกันที่ใชกับนาขาวคือ 5-10 กิโลกรัมตอไร ในพื้นที่ดินเค็ม
ควรจะใชในอัตราที่สูงเพื่อเปนการชะลอการเจริญเติบโตและวิวัฒนาการทางลําตนไมใหเนื้อไมแข็งเกินไป
(มิลลิกรัมสมมูลยelu et al, 1994) วิธีการปลูกก็ไมยุงยากโดยการไถเตรียมดิน 1-2 ครั้ง แลวทําการหวาน
เมล็ดโสนอัฟริกันใหกระจายทั่วแปลงสม่ําเสมอ หลังจากนั้นประมาณ 50-60 วันหรือประมาณ 8 สัปดาห ทํา
การไถกลบลงในดิน สําหรับในพื้นที่ดินเค็ม Dargan และคณะ (1982) แนะนําวาควรสับกลบโสนเปนพืชปุย
สดอายุ 7-9 สัปดาห หลังจากการสับกลบพืชปุยสด จะเกิดขบวนการยอยสลายพืชปุยสด ปจจัยสําคัญที่มีผล
ก็คือสภาพแวดลอม ในสภาพที่มีอากาศจะเกิดการสลายตัวอยางรวดเร็วโดยเชื้อรา ซึ่งจะไดสารพวกออกไซด
เชน ไนเตรท ซัลเฟต คารบอนไดออกไซด และสวนที่ยอยสลายยาก สวนในน้ําขังการสลายตัวจะเกิดขึ้นชา
และมีแบคทีเรียชวยในการสลายตัว ผลที่ได คือ แอมโมเนีย มีเทน ไฮโดรเจน คารบอนไดออกไซดและกรด
อินทรียตางๆ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2540) สิ่งที่ไดจากการยอยสลายจะไปมีผลกระทบตอพืชหลักที่ปลูกตามมา
ดังนั้นในการพิจารณาการปลูกพืชหลักควรจะพิจารณาผลกระทบตางๆ จากสารเหลานี้ดวย
จากรายงานของนิรันดรและคณะ (2530) ไพรัช (2536) พบวาการสับกลบโสนสงผลใหดิน
เค็มมีความอุดมสมบูรณเพิ่มขึ้น คือ เพิ่มความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก อินทรียวัตถุไนโตรเจน ซึ่ง
ปริมาณไนโตรเจนแปรตามปริมาณอินทรียวัตถุในดินและเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดิน ซึ่งไพรัชและคณะ
(2541) รายงานวา การใชโสนอัฟริกันสงผลใหขาวไดผลผลิตไมแตกตางกับการใชปุยเคมี คือ เฉลี่ย 247.46
และ 266.64 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และพบวาการสับกลบโสนอัฟริกันที่มีอายุมากขึ้น ซึ่งใหมวลชีวภาพ
เพิ่มขึ้นนั้น มีแนวโนมใหผลผลิตขาวสูงขึ้น เชนกัน
โสนอัฟริกันมีศักยภาพสูงในการนํามาใชเปนปุยพืชสดปรับปรุงดินเค็มเพื่อเพิ่มผลผลิตขาว
เนื่องจากเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ดินเค็มนอยถึงปานกลาง ทนตอสภาพน้ําขัง ใหปริมาณไนโตรเจนสูง งายตอ
การสับกลบ และยอยสลายปลดปลอยธาตุอาหาร หลังการสับกลบสงผลใหขาวที่ปลูกตามมาใหผลผลิตเพิ่ม
ขึ้น และเมื่อมีการใชรวมกับปุยอินทรียชนิดอื่นๆ เชน ปุยหมัก ปุยคอก ก็สามารถเพิ่มประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ในการปรับปรุงดินเค็ม ซึ่งประสิทธิ์ และไพรัช 2547 เปรียบเทียบผลของวัสดุปรับปรุงดินเค็มกับปุยอัตราแนะ
นําตอผลผลิตขาวในดินเค็มชายทะเล พบวา การใชโสนอัฟริกันรวมกับปุยหมักและปุยเคมี จะมีประสิทธิภาพ
สูงในการเพิ่มผลผลิตขาวพันธุชัยนาท 1 เมื่อเทียบกับแปลงควบคุมคือจะไดผลผลิต 729.90 กิโลกรัมตอไร
นอกจากนี้ยังทําใหความเค็มของดินลดลง รวมทั้งปริมาณอินทรียวัตถุ และปริมาณฟอสฟอรัสในดินเพิ่มขึ้น
ดวย (ตารางที่ 3.2)