Page 34 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 34

26



                      คุณสมบัติของปุยคอกยอมเปลี่ยนไปตามปจจัยตางๆ ดังนี้ (แววตาและคณะ, 2535)

                              - ชนิดสัตว  สัตวตางชนิดกันจะผลิตปุยคอกแตกตางกัน ปุยคอกสด 1 ตัน จากสัตวทั่วไป

               ประกอบดวยไนโตรเจน 10-20 ปอนด ฟอสฟอรัส 5-10 ปอนด และโพแทสเซียม 10-15 ปอนด อยางไรก็ตาม
               ปุยคอกจากสัตวปกจะมีระดับไนโตรเจนและฟอสฟอรัสสูงกวาปุยคอกจากสัตวชนิดอื่นๆ  (ตารางที่ 3.3)




               ตารางที่ 3.3  แสดงผลวิเคราะหธาตุอาหารในปุยคอก

                                                              ปริมาณธาตุอาหาร (%)
                  ชนิดของปุยคอก
                                                 N                     P2O5                    K2O

               มูลโค                            1.91                   0.56                    1.40

               มูลกระบือ                        1.23                   0.55                    0.69
               มูลไก                           3.77                   1.89                    1.76

               มูลเปด                          2.15                   1.13                    1.15

               มูลหมู                           2.80                   1.36                    1.18

               มูลคางคาว                       1.05                   14.82                   1.84

               มูลแกะ                           1.87                   0.79                    0.92
               มูลมา                           2.33                   0.83                    1.31

               *  ที่มา กรมพัฒนาที่ดิน (2540)


                             - อาหารสัตว ธาตุอาหาร 75-90 เปอรเซ็นต จากอาหารที่สัตวกินเขาไป สัตวใชเพื่อการเจริญ

               เติบโตและขับถายออกมาเปนปสสาวะหรือยูเรีย ดังนั้น ธาตุอาหารพืชที่ผสมอยูในปุยคอกยอมเปลี่ยนไปตาม

               แหลงของอาหารที่สัตวกิน ระดับโปรตีนหรือเกลืออนินทรีย (โซเดียม แคลเซียม ฟอสเฟต และคลอไรด) จะเปน

               ตัวสะทอนสมบัติของปุยคอกและสัดสวนของไนโตรเจนที่พืชสามารถนําไปใชไดกับไนโตรเจนในรูปของอินทรีย
               อาจจะเปลี่ยนแปลงไป

                             - วิธีการใช การไถกลบปุยคอกอยางรวดเร็วทันทีหลังจากหวานลงดินชวยลดการสูญเสีย

               ไนโตรเจนไปในอากาศและชวยใหจุลินทรียดินเริ่มยอยสลายอินทรียวัตถุ ทําใหธาตุอาหารเปนประโยชนตอพืช

               เร็วขึ้น

                             - สมบัติของดิน กระบวนการยอยสลายเกิดขึ้นอยางรวดเร็วในสภาพอากาศรอนและมี
               ความชื้น ทําใหธาตุอาหารอยูในรูปที่พืชใชไดเร็วขึ้น สภาพฝนตกหลังจากหวานปุยคอกจะชวยลดการระเหย

               ของไนโตรเจน กระบวนการยอยสลายจะเปนไปอยางรวดเร็วในดินเนื้อหยาบทําใหธาตุอาหารเปนประโยชน

               ตอพืชเร็วขึ้น แตดินเนื้อหยาบมีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (CEC) และการซาบซึมน้ําต่ํา ดัง
               นั้น จึงควรใหปุยคอกเพียงนอยๆ แตบอยครั้งเพื่อปองกันการสูญเสียธาตุอาหารไปจากดิน



                              วิธีการและอัตราการใสปุยคอกนั้น ขึ้นอยูกับชนิดหรือแหลงที่มาของปุยคอกและความเหมาะ

               สมในการปฏิบัติไมมีการกําหนดแนนอน  การใสปุยคอกจะใสวิธีใดก็ได  เชน  หวาน  รองกนหลุมหรือโรยตาม
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39