Page 26 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 26

18

                              บทที่ 3 การปรับปรุงดินเค็มชายทะเลดวยอินทรียวัตถุ




                             ดินเค็มชายทะเลเปนดินที่มีคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของดิน  ไมเหมาะสมตอการ

               เจริญเติบโตของพืช  เชน  ดินแนนทึบ  การระบายน้ําและอากาศเลว  ถาเปนดินเหนียวจะแข็งมากเมื่ออยูใน
               สภาพแหง ซึ่งเปนผลจากการที่มีโซเดียมซึ่งเปนองคประกอบของเกลือที่มากเกินไปในดิน ความเค็มของดินจึง

               ไปมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช  เชน   ความเปนพิษของโซเดียมและคลอไรดที่ตนไมดูดขึ้นไปในปริมาณที่

               มากจนมีผลตอขบวนการตางๆ ที่จําเปนตอพืช Na และ Cl ในสารละลายดูดยึดไวทําใหพืชไมสามารถดูดน้ํา

               ไปใชไดในปริมาณที่เพียงพอทําใหพืชขาดน้ํา  ความไมสมดุลของ ion  ทําใหพืชขาดธาตุอาหาร  ปฏิกริยารวม

               ระหวางความเค็มกับสภาพน้ําขัง   ซึ่งมีผลทําใหรากอยูในสภาพขาดออกซิเจนทําใหขาดพลังงานในการคัด
               เลือก ion ทําใหระบบการปองกันเกลือในพืชสูญเสียไป (กรมพัฒนาที่ดิน 2539) ดังนั้น จึงจําเปนตองปรับปรุง

               คุณสมบัติของดินเค็มใหมีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชเสียกอนโดยการนําเอาอินทรียวัตถุ  และ

               วัสดุปรับปรุงดินมาชวยในการปรับปรุงคุณสมบัติของดินเค็มเพื่อการปลูกพืชตอไป



                      ความหมายของอินทรียวัตถุ



                             อินทรียวัตถุ หมายถึง สิ่งที่ไดจากการยอยสลายตัวของสารอินทรีย ซึ่งอยูในหลายขั้นตอน คือ

               ตั้งแตอยูในรูปเดิมหรือเปลี่ยนแปลงแตยังจํารูปเดิมได   จนถึงคงการเปลี่ยนแปลงจากรูปเดิมโดยสมบูรณ

               อินทรียวัตถุเมื่อยอยสลายตอไปขั้นสุดทายจะไดสารฮิวมัส  ฮิวมัสเปนสารที่เสถียรมีพื้นที่ผิวสัมผัสสูง  สามารถ

               ดูดซับน้ําไดดีมีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูง (CEC) (ปรัชญาและคณะ , 2540)




                      แหลงที่มาของอินทรียวัตถุในดิน



                             อินทรียวัตถุในดินมีแหลงกําเนิดหลายทางซึ่งแยกออกเปนพวกๆ ไดดังนี้

                             1.  จากการสลายตัวของซากพืชและซากสัตวโดยกิจกรรมของจุลินทรีย

                             2.  จากการสลายตัวของชิ้นสวนของพืชที่ไถกลบลงไปในดิน  หรือตอซังของพืชที่เหลือหลัง
                                 จากเก็บเกี่ยวผลผลิตแลวหรืออาจเปนพืชที่ปลูกขึ้นเพื่อไถกลบโดยเฉพาะ  ไดแก  พืชปุย

                                 สด

                             3.  จากการสลายตัวของสิ่งขับถายทั้งหลาย เชน อุจจาระ

                             4.  จากการสลายตัวของปุยคอกหรือปุยหมักที่ใสลงไปในดิน

                             5.  จากเซลลของจุลินทรียดิน  ซึ่งอาจเปนจุลินทรียที่ยังชีวิตอยูหรือตายแลว  รวมทั้งสาร
                                 ประกอบอินทรียที่จุลินทรียดินสังเคราะหขึ้น

                             การยอยสลายตัวของอินทรียวัตถุในดินเกิดขึ้นโดยอาศัยจุลินทรียดิน  เปนตัวการสําคัญและ

               จะเกิดไดอยางรวดเร็วในสภาพที่มีอากาศเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วโดยอาศัยจุลินทรีย (ซึ่งมีแปงและน้ําตาลเปน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31