Page 28 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 28

20
                              3.1.1  ปุยพืชสด (green manure)



                              ปุยพืชสดเปนปุยอินทรียชนิดหนึ่งที่ไดจากการไถกลบพืชหรือพืชตระกูลถั่วในขณะที่ยังเจริญ

               เติบโตเปนสีเขียวอยู  สวนใหญไถกลบลงดินในระยะที่พืชกําลังเจริญเติบโตสูงสุดหรือระยะออกดอกเพราะวา

               การเจริญเติบโตในระยะนี้เปนระยะที่พืชใหปริมาณน้ําหนักสดตอหนวยพื้นที่สูงสุดและมีปริมาณธาตุอาหาร

               ในสวนตางๆ ของพืชสูงสุด ภายหลังการไถกลบพืชปุยสดลงดินแลว จะตองทิ้งไวในดินประมาณ 7-21 วัน เพื่อ

               รอการสลายตัว การสลายตัวของพืชปุยสดในดินจะใชเวลามากหรือนอยขึ้นอยูกับชนิดของพืชและอายุของพืช
               พืชที่มีลักษณะอวบน้ําและอายุนอยยอมสลายตัวไดเร็วกวาพืชที่ไมอวบน้ําและมีอายุแกกวา  คุณสมบัติของ

               พืชปุยสดที่เปนพืชตระกูลถั่วสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศไดเมื่อสลายตัวหรือสับกลบลงดินก็จะเปน

               แหลงธาตุอาหารใหแกพืชตอไป (สําหรับปุยพืชสดที่จะนํามาใชในการปรับปรุงคุณสมบัติของดินเค็ม (เค็ม
               นอย-ปานกลาง) ที่จะกลาวถึงในบทนี้ เชน ถั่วพราและชนิดของโสนตางๆ เปนตน)





                      ประโยชนของปุยพืชสดพอจะสรุปไดพอสังเขปดังนี้



                             - เพิ่มธาตุไนโตรเจนใหแกดิน โดยไนโตรเจนดังกลาวไดมาจากการสลายตัวของปุยพืชสดและ

               จากการตรึงไนโตรเจนในอากาศของแบคทีเรียที่อาศัยอยูในปมรากพืชตระกูลถั่ว

                             -  เพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดิน  สวนของปุยพืชสดที่ยอยสลายชาจะมีบทบาทสําคัญตอการเพิ่ม
               อินทรียวัตถุในดิน   หากมีการใชอยางสม่ําเสมอจะเปนการชดเชยอินทรียวัตถุในดินที่สูญเสียไปและชวยสง

               เสริมกิจกรรมของจุลินทรียในดิน

                             -  รักษาและเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน  เนื่องจากพืชที่ปลูกเปนปุยพืชสดจะดูดหรือใช

               ประโยชนจากปุยตกคางจากการใสใหพืชหลัก เปนการปองกันการสูญเสียมิใหธาตุอาหารพืชถูกชะลางไปและ
               เมื่อมีการไถกลบพืชปุยสดนั้นลงไปในดินปริมาณธาตุอาหารก็จะสับกลบลงสูดินใหม  ซึ่งจะเปนประโยชนแก

               พืชหลักที่ปลูกตามมา และปริมาณธาตุอาหาร N P K จะแตกตางกันไปในพืชปุยสดแตละชนิด (ตารางที่ 3.1)

               นอกจากนี้ยังสามารถดึงเอาธาตุอาหารที่อยูในดินลาง ซึ่งพืชชนิดอื่นๆ ที่มีระบบรากสั้นเขาไปไมถึงขึ้นมาใชใน

               ดินชั้นบนได
                             -  ชวยปรับปรุงโครงสรางทางกายภาพของดินใหดีขึ้น  ทําใหเม็ดดินเกาะตัวกันอยางหลวมๆ

               และทําใหดินอุมน้ําดีขึ้น   นอกจากนี้รากของพืชปุยสดที่ชอนไชอยูใตดินจะทําใหการเคลื่อนไหวของน้ําและ

               อากาศในดินมากขึ้น

                             -  ชวยในการอนุรักษดินและน้ํา  และชวยในการปองกันกําจัดวัชพืช  ในกรณีที่ปลูกพืชปุยสด

               เปนพืชคลุมดิน
                             - ชวยลดตนทุนในการใชปุยเคมีลงไดบางสวน

                             -  ชวยเพิ่มผลผลิตของพืชหลักใหสูงขึ้นและคุณภาพดีขึ้นและยังชวยลดปญหาดินเค็มไดหาก

               ใชปุยพืชสดอยางตอเนื่อง
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33