Page 25 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 25

17


               จะใชปลูกขาว     แตการปรับปรุงดินของกลุมชุดดินนี้ก็สามารถนํามาใชประโยชนในการปลูกพืชไดแตตอง

               ดําเนินการตามวิธีดังนี้

                              -  การคัดเลือกพันธุพืชที่มีความทนเค็มมาปลูก  เชน  ขาว  พืชผักบางชนิดและไมยืนตนทน

                                 เค็ม
                              -  การลางดินหรือลางเกลือออกจากดิน

                              -  การปรับปรุงดินโดยการนําเอาวัสดุปรับปรุงดินที่หาไดในพื้นที่  เชน  แกลบ  ปุยหมัก  ปุย

                                 คอก รวมถึงการใชพืชปุยสดปลูกและสับกลบลงดิน เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดิน และปรับ

                                 โครงสรางของดินใหดีขึ้น ซึ่งพืชปุยสดที่กลาวถึง เชน โสนอัฟริกัน ถั่วพรา เปนตน



                             อยางไรก็ตามในปจจุบันความเค็มไดแพรกระจายไปในหลายๆ  สวนของพื้นที่ในประเทศไทย

               จึงทําใหชุดดินอื่นๆ  นอกจากที่กลาวมาขางตน  อาจจะเค็มไดเชนเดียวกันเพราะเกิดการแพรกระจายของดิน

               เค็มไมวาจะดวยวิธีการใด  แตพอจะยกตัวอยางใหเห็นชัดคือการเลี้ยงกุงกุลาดําในพื้นที่น้ําจืด  หรือพื้นที่ที่ไม
               เค็มและมีการผสมน้ําทะเลลงไปหรือสะสมเกลือลงไป       จึงทําใหพื้นที่ที่ไมเค็มก็กอใหเกิดความเค็มของดิน

               บริเวณนั้นไดเชนกัน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30