Page 27 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 27

19


                                                                                                          -
               แหลงพลังงาน)  และที่ไดจากการสลายตัวของอินทรียวัตถุมักเปนสารพวกออกไซด  เชน  ไนเตรท (NO )
                                                                                                          3
               คารบอนไดออกไซด (CO ) เปนตน
                                    2


                      บทบาทของอินทรียวัตถุในดิน เชน



                             เกี่ยวกับวงจรธาตุอาหาร เพิ่มประสิทธิภาพการอุมน้ําและธาตุอาหารพืชในดิน เปนแหลงธาตุ

               อาหาร  ปองกันการตึงธาตุอาหารในดิน  เปนแหลงอาหารของจุลินทรียดิน  ตั้งแตเปนอาหารของแบคทีเรียจน

               ถึงไสเดือนของดิน  ซึ่งจุลินทรียเหลานี้จะชวยรักษาความคงสภาพของธาตุอาหารและปลดปลอยในรูปที่พืช

               สามารถนําไปใชได (สมนึก 2546)

                             เกี่ยวกับน้ําในดิน เพิ่มความซึมซับน้ําของดิน (water infiltration) ลดการระเหยน้ําในดิน เพิ่ม
               ความสามารถในการอุมน้ําของดิน โดยเฉพาะในดินทราย

                             เกี่ยวกับโครงสรางของดิน   ลดการจับกันเปนกอนแข็งโดยเฉพาะดินที่มีโครงสรางละเอียด

               แนน ทึบ กระตุนการพัฒนาของรากพืช เพิ่มการจับตัวของเม็ดดิน (soil aggregation) ปองกันการชะลางพัง

               ทลายของดิน ปองกันการแนนทึบของดิน (soil compaction)

                                  3.1  ปุยอินทรีย ตามคําจํากัดความในพระราชบัญญัติปุย พ.ศ. 2518 หมายถึงปุยที่ได

               จากอินทรียวัตถุ ซึ่งผลิตดวยกรรมวิธีทําใหเปนชิ้น สับ บด หมัก รอน หรือวิธีการอื่นๆแตไมใชปุยเคมี จึงเห็นได

               วาอินทรียสารทั้งหลายที่ไดจากสิ่งมีชีวิตไดแก ชิ้นสวนของพืช สัตวตลอดจนสิ่งขับถาย ตัวอยางของปุยอินทรีย
               ไดแก ปุยพืชสด ปุยคอก ปุยหมัก เปนตน

                              ปุยอินทรียที่ใสลงไปในดินจะสลายตัวใหกาซคารบอนไดออกไซด (CO )  และละลายน้ําให
                                                                                          2
               กรดคารบอนนิค (H CO ) ดังสมการ
                                2
                                    3
                                     CO  + H C            H CO  3
                                             2
                                        2
                                                            2
                              H CO  + CaCO  + 2Na                 CaX  + 2 Na HCO 3
                                   3
                                            3
                               2
                                                                      2
                                     (X = อนุมูลของเกลือโซเดียม)
                             การใสอินทรียสารลงไปในดินนอกจากจะชวยกําจัดโซเดียมแลว  ยังชวยปรับปรุงโครงสราง
               ของดินใหดีขึ้น  เนื่องจากอินทรียที่สลายตัวจะปลดปลอยสารเหนียวที่ชวยใหอนุภาคของดินจับตัวกันเปนเม็ด

               ดิน  นอกจากนี้จุลินทรียที่ยอยสลายอินทรียสารก็จะสรางเสนใยซึ่งจะชวยใหอนุภาคของดินถูกยึดเขาดวยกัน

               เปนเม็ดดินดวย (USSL, 1954)
                             ซึ่งปุยอินทรียที่จะนํามาใชในการปรับปรุงคุณสมบัติของดินในดินเค็มชายทะเลกอนการปลูก

               พืชไดแกปุยพืชสด ปุยคอก และปุยหมัก
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32