Page 35 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 35

27


               แถวปลูกพืชแลวแตความเหมาะสม  เพราะวาจุดประสงคหลักของการใสปุยคอกโดยทั่วไปก็เพื่อปรับปรุงคุณ

               สมบัติของดินใหมีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช  เชน  ลดความหนาแนนของดิน  ทําใหดินรวนซุย

               ขึ้น เพิ่มธาตุอาหารใหแกพืช ซึ่งวิธีการใชปุยคอกที่ดีที่สุดที่ใชกับนาขาว คือ การใสแบบหวานทั่วแปลง ถาใช
               ปุยคอกสดควรใสกอนการปลูกพืชโดยหวานใหทั่วแปลงแลวไถกลบทิ้งไว 15-30 วัน  กอนการปกดําขาวอัตรา

               ปุยคอกที่ใช 1-3 ตันตอไร อาจจะใชรวมกับปุยเคมีโดยเฉพาะดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา เชน ดินทราย จาก

               การทดลองของปริมาณและระยะเวลาในการใสปุยอินทรียตอการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตขาว  พบวาการ

               ใชปุยมูลไกเพื่อทดแทนปุยเคมีอัตรา 8-4-0 กิโลกรัมตอไร การเพิ่มผลผลิตขาวพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่ง
               เปนขาวตนสูงไวตอชวงแสงตอบสนองตอปุยเคมีไดดีปานกลางและจะตอบสนองตอปุยมูลไกไดดีที่อัตรา 300-

               600 กิโลกรัมตอไร แตถาใชปุยมูลวัวจะตองใชอัตราคอนขางสูงคือ 1,500-3,000 กิโลกรัมตอไร ซึ่งอาจจะเปน

               อุปสรรคในการจัดหา  ดังนั้น  การใชมูลสัตวในอัตราต่ํารวมกับการใชปุยเคมีในการเพิ่มผลผลิตขาวนาจะเปน

               วิธีการที่ดีกวา (ทัศนียและคณะ , 2536) อรุณี 2535 ไดศึกษาอิทธิพลของสารอินทรียบางชนิดในการปรับปรุง

               ดินเค็มเพื่อเพิ่มผลผลิตของขาว  พบวาการใชปุยคอกอัตรา 4  ตันตอไร  ใหผลผลิตขาวสูงสุดเทากับ 276
               กิโลกรัมตอไร แตตางกันการใชปุยคอกในอัตรา 2 ตันตอไร แกลบ 6 ตันตอไร ซึ่งใหผลผลิต 271 และ 263

               กิโลกรัมตอไร สําหรับแปลงควบคุมใหผลผลิตเพียง 141 กิโลกรัมตอไร

                              สําหรับการใชปุยคอกกับพืชผักนั้น  อัตราที่แนะนําคือ 1-2  ตันตอไร  ใสโดยการหวานใหทั่ว

               แปลงแลวทําการไถกลบทิ้งไว 1-2 สัปดาห จึงทําการปลูกพืช ซึ่งการใชปุยคอกเปนประจํา ทําให pH ของดินมี

               การเปลี่ยนแปลงไมมากนัก ในกรณีการใสปุยคอกในดินกรด ปุยคอกจะทําให pH ของดินสูงขึ้น เนื่องจากปุย
               คอกจะมี basic cation เชน K, Ca และ Mg เปนองคประกอบสูง เมื่อสลายตัวจะปลดปลอยออกมา ทําใหคา

               pH  ของดินสูงขึ้น  นอกจากนี้ยังทําใหความเปนประโยชนของธาตุอาหารพืชโดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่เปน

               ประโยชนมากขึ้น เพราะปุยคอกไปทําปฏิกิริยากับ Fe และ Al เกิดปฏิกิริยา Chelation ปองกันไมให Fe, Al
               ตรึงฟอสฟอรัสในดินและจากการทดลองของกรมพัฒนาที่ดิน (2540)  พบวาการใชปุยคอกอัตรา 4  ตันตอไร

               รวมกับปุยเคมี 50 กิโลกรัมตอไรในผักกาดหัว สามารถปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมีของดิน กลาวคือ ยกระดับ

               ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน  เพิ่มปริมารธาตุอาหารไนโตรเจน  ฟอสฟอรัส  โปแตสเซียม  แคลเซียม  แมกนีเซียม

               และกํามะถันใหสูงขึ้น  ซึ่งสุทัสและประสิทธิ์ 2541  ไดศึกษาการจัดการดินเค็มชายทะเลเพื่อปลูกแคนตาลูป

               พบวาอิทธิพลของการใชปุยคอกรวมกับปุยเคมีตอการเปลี่ยนแปลงคาคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของดิน
               ตลอดระยะเวลาการทดลอง 3 ป มีความแปรปรวนเชนเดียวกับกรรมวิธีทดลองของ mainplot ในแตละป คา

               คุณสมบัติของดินดังกลาวจะเปลี่ยนแปลงแตกตางกัน  เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีควบคุม  แลววิธีใชปุยคอกรวม

               กับปุยเคมีจะทําใหคาคุณสมบัติทั้งทางเคมีและกายภาพของดินมีทั้งเพิ่มขึ้นหรือมีแนวโนมเพิ่มขึ้น   ไดแก

               ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) มีคาอยูระหวางรอยละ 2.37-3.40 ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (available P) มีคา

               อยูระหวาง 382.67-626.81 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม สวนคาคุณสมบัติของดินทางเคมีและกายภาพที่ลดลงหรือมี
               แนวโนมลดลงไดแก  คาปฏิกิริยาของดิน (pH)  มีคาอยูระหวาง 6.75-7.12  คาการนําไฟฟา (EC )  มีคาอยู
                                                                                                   e
               ระหวาง 4.39-6.59  เดซิซีเมนตอเมตร  และคาความหนาแนนรวมของดิน (bulk density)  มีคาอยูระหวาง

               1.14-1.28 กรัมตอตารางเซนติเมตร (ตารางที่ 3.4)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40