Page 33 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 33

25



                              5. โสนคางคก (Sesbania aculeata) เปนโสนที่มีลักษณะในและเมล็ดเล็กและเรียวกวาโสน

               อื่นๆ ทนทานตอสภาพแหงแลวและความเค็มไดดี ขึ้นไดดีในสภาพดินเหนียวและมีน้ําขัง ปลูกเปนพืชปุยสดใน

               นาขาว อัตราเมล็ดที่ใช 5-6 กิโลกรัมตอไร โสนคางคกจะไถกลบที่อายุประมาณ 60 วัน จะใหน้ําหนักสด 1-3
               ตันตอไร ใหธาตุไนโตรเจนประมาณ 10-15 กิโลกรัมตอไร ซึ่งจากการศึกษาการสับกลบโสนคางคกที่อายุตาง

               กัน คือ 30 45 60 และ 75 วัน  กับผลผลิตขาว พบวาผลที่ออกมาไมแตกตางกันทางสถิติ การสับกลบโสน

               คางคกเมื่ออายุ 30 วัน ใหผลผลิตขาวสูงสุดคือ 3.68 ตันตอเฮกแตร เมื่อเปรียบเทียบกับแปลงควบคุมซึ่งไมได

               ใสปุยพืชสดใหผลผลิต 2.53  ตันตอเฮกแตร  แตเนื่องจากเมล็ดเล็กและแตกงายในบางโอกาสจึงกลายเปนวัช
               พืชในนาขาวได

                              การที่ไดนําโสนอินเดีย  โสนจีนแดงและโสนคางคก  มารวบรวมไวในเอกสารฉบับนี้เพราะวา

               โสนดังกลาวมีความสามารถในการเจริญเติบโตไดในดินเค็ม      ซึ่งแตละชนิดก็มีขอดีและขอเสียตางกันไป

               ปจจุบันไมไดมีการแนะนําสงเสริมใหใชเปนพืชปุยสด  ทั้งนี้เนื่องจากเมล็ดพันธุหาไดยากและขณะนี้มีการแนะ

               นําสงเสริมใหปลูกโสนอัฟริกันเปนพืชปุยสดเพราะวามีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนไดดีกวา   คือ
               ประมาณ 31-59 กิโลกรัมตอไร เมื่อเทียบกับโสนคางคก โสนอินเดียและโสนจีนแดง แตอยางไรก็ตามโสนทั้ง 3

               ชนิด  ก็สามารถใชเปนแนวทางหรือทางเลือกหนึ่งในการนํามาปลูกในพื้นที่ดินเค็มไดและควรจะมีการรวบรวม

               และขยายเมล็ดพันธุเพื่อใชเปนพืชปุยสดในสภาพดินตางๆ กันตอไป


                              3.1.2 ปุยคอก (manure) คําวาปุยคอกไมใชสวนที่เปนมูลจากสัตวเลี้ยงเทานั้น แตหมายถึง

               วัสดุที่ใชปูพื้นคอก กากอาหารและอื่นๆ ที่ผสมปนเปกันเปนปุยคอก (สมนึก, 2546)

                              การนําปุยคอกมาใชในการปรับปรุงดินตางๆ  เปนวิธีการทําการมาชานานแลว  และสามารถ

               หาไดงายในพื้นที่การใชปุยคอกในการปรับปรุงบํารุงดินทําใหดินมีความรวนซุยขึ้น  มีการเพิ่มธาตุอาหารพืช

               ซึ่งปุยคอกจะใหธาตุอาหารคารบอนและสารประกอบอื่นๆ  ที่มีผลตอองคประกอบของฮิวมัส  กิจกรรมของจุลิ
               นทรียดินและโครงสรางทางกายภาพของดิน




                      บทบาทของปุยคอกในดิน ปุยคอกเมื่อใสลงดินจะมีผลกระทบตอระบบในดินมากมาย เชน
                              - ใหธาตุอาหารพืชโดยตรง เพราะปุยคอกประกอบดวยไนโตรเจน (ในรูปของแอมโมเนีย)

               ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และธาตุอาหารของอื่นๆ ซึ่งพืชสามารถนําไปใชโดยตรง

                              - ลดความเปนกรดของดิน การใสปุยคอกเปนประจําจะชวยลดความเปนกรดของดิน
                             - เกิดพิษของเกลือและแอมโมเนีย ปุยคอกจะประกอบดวยเกลือเมื่อใสปุยแกพืชใน

               อัตราที่เขมขนมากจะทําใหใบพืชไหม และปุยคอกที่ยังสดอยูจะมีปริมาณแอมโมเนียในปริมาณสูงจะเปน

               อันตรายตอการงอกของเมล็ดพืชได

                              - ชวยใหโครงสรางของดินดีขึ้น การเพิ่มอินทรียวัตถุและกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดินเปนการ

               ปรับปรุงโครงสรางของดินโดยตรง ความแนนของดินจะลดลง เชื่อมเม็ดดินใหเกาะตัว ทําใหดินรวนซุยรักษา
               ความชื้นในดิน

                              - เสริมสรางกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38