Page 29 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 29

21
               ตารางที่ 3.1  ชนิดพืชปุยสดและเปอรเซ็นตธาตุอาหาร




                                     น้ําหนักสด*                      เปอรเซ็นตธาตุอาหาร
                 ชนิดปุยพืชสด
                                      ตันตอไร          ไนโตรเจน           ฟอสฟอรัส          โ  พ  แ  ท  ส  เ  ซ  ียม

               โสนอัฟริกัน             2.0-3.0           2.50-3.00          0.30-0.40          2.00-2.78

               โสนอินเดีย              1.5-3.0           2.00-2.35          0.50-0.65          3.00-3.41
               โสนจีนแดง               1.0-2.0           2.00-2.35          0.50-0.60          2.50-2.80

               โสนคางคก                1.0-2.0           2.00-2.35          0.50-0.85          3.00-3.26

               ถั่วเขียว               1.0-3.0           1.50-2.00          0.30-0.50          3.00-3.50

               ถั่วพรา                1.5-3.0           2.00-2.95          0.30-0.40          2.20-3.00
               ปอเทือง                 1.5-3.0           2.00-2.90          0.30-0.40          2.00-2.50

               ถั่วพุม                1.0-3.0           2.00-3.00          0.50-0.60          2.50-3.00

               ถั่วมะแฮะ               2.0-4.0           1.50-2.00          0.05-0.10          0.50-1.00

               *ที่มา  กรมพัฒนาที่ดิน (2540)



                             พืชปุยสดที่นํามาปลูกเพื่อทําการสับกลบลงบนพื้นที่ดินเค็มชายทะเล ไดแก


                              1.  โสนอัฟริกัน  (Sesbania rostrata)  เปนหนึ่งในสามชนิด (species)  ของพืชในสกุล

               Sesbania  ที่มีปมที่ลําตนมีถิ่นกําเนิดในประเทศ Senegal  แอฟริกาใต  เปนพืชตอบสนองตอชวงแสงและ

               อุณหภูมิ คือเปนพืชวันสั้น มีชวงแสงวิกฤตระหวาง 12-12.5 ชั่วโมง (Visperas และคณะ , 1987)   ถาชวงแสง




























               ของวันต่ํากวานี้โสนอัฟริกันจะออกดอก  ซึ่งจากรายงานผลการวิจัยในการหาชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูก

               โสนเพื่อใชเปนปุยพืชสดในดินเค็มก็ไดผลในทํานองเดียวกันคือการปลูกในชวงเดือนเมษายน –  พฤษภาคม

               (ชวงนี้มีแสงยาว)  โสนจะเจริญเติบโตเร็ว  ใหมวลชีวภาพสูงและยังไมออกดอก  ในขณะที่การปลูกชวงเดือน
               ธันวาคม โสนจะออกดอกเมื่อปลูกไดประมาณ 30 วัน การเจริญเติบโตทางดานลําตนต่ําลง (สมศรีและคณะ,
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34