Page 24 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 24

16


                              -  สภาพการระบายน้ําของดิน คอนขางเลวถึงเลว ในชวงฤดูฝนมีน้ําขังบนผิวดิน 3-4 เดือน

                                 สวนในฤดูแลงระดับน้ําใตดินอยูลึกกวา 1 เมตร

                              -  พืชพรรณการใชประโยชน        เปนปาละเมาะและไมพุมหนามขึ้นกระจัดกระจายเปน

                                 หยอมๆ ใชประโยชนในการทํานาและแหลงน้ําทาเกลือสินเธาว



                              รายชื่อชุดดินที่อยูในกลุมชุดดินที่ 20 ไดแก ชุดดินหนองแก (Nong kae : Nk)

                              ลักษณะของกลุมชุดดินที่ 20 เปนดินลึก เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือทรายรวน  สวน

               ดินชั้นลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนเหนียว  สีน้ําตาลออนหรือสีเทา  พบจุดประสีน้ําตาล  สี
               เหลือง หรือสีแดง อาจพบกอนปูน (secondary lime concretion) ปะปนอยูดวยและมีเกลือโซเดียมสะสมอยู

               สูงในชวงฤดูแลงจะพบคราบเกลือปรากฎใหเห็นเปนหยอมๆ  บนผิวดิน  ปฏิกิริยาของดินชั้นบนเปนกรดแกถึง

               ปานกลางอยูระหวาง 5.0-6.0 สวนดินชั้นลางเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง อยูระหวาง 6.5-8.0   ความ

               อุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา



                      ลักษณะของชุดดินตางๆ ที่อยูในกลุม


                              -  ชุดดินหนองแก (Nk)  ลักษณะเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายรวนสีน้ําตาล

               น้ําตาลปนเทาหรือน้ําตาลเขมปนเทา สวนดินชั้นลางเปนดินรวน รวนเหนียวปนทราย หรือรวนเหนียวสีเทาปน

               ชมพู สีน้ําตาลซีด พบจุดประสีน้ําตาลแก น้ําตาลออนอมเขียวมะกอก น้ําตาลปนเหลืองตั้งแตดินบนตอนลาง
               ลงไป  และมักจะพบสีน้ําตาลเขมมากฉาบอยูที่กอนดิน (soil peds)  ยังพบกอนเหล็กแมงกานีสและปูนในดิน

               ชั้นลาง ปฏิกิริยาของดินเปนกรดแกถึงเปนกรดปานกลางในดินชั้นบน อยูระหวาง 5.0-6.0 และเปนดางออนถึง

               ดางปานกลางในดินชั้นลาง อยูระหวาง 7.5-8.0 ใชประโยชนในการทํานา ปาหญา ปาละเมาะ


               ตารางที่ 2.6    ผลวิเคราะหดินของดินหนองแก (Nk)


          ระดับความลึก    เนื้อดิน (%)     pH      P      C     N      Exchange capacity and cation (cmol c /kg)  BS(%)  EC e
            (เซนติเมตร)  sand  silt  clay  1:1 water  (mg/kg)  (%)  (%)  Ca  Mg     K     Na     CEC   B/Cx100  (dS/m)
             0-3     71.0  27.8    1.2     6.4    2.6    0.22    -    0.35   0.53  0.13   0.34  157.5    71     0.01
             3-12    60.3  30.0    9.7     7.0    2.6    0.30    -    1.06   1.17  0.08   2.40   57.5    84     0.01
             12-27   39.8  41.2   22.0     8.8    7.1    0.16    -   10.71   4.03  0.32   9.00   58.0    100    0.08
             27-40   30.5  47.0   22.5     9.0    2.9    0.02    -    4.56   1.59  0.36   9.00   51.6    100    0.10
               ปรับปรุงมาจาก กิติ และคณะ, 2547




                              ปญหาและขอจํากัดของกลุมชุดดินที่ 20 ในการปลูกพืช ดินมีความเค็มสูงถึงสูงมาก ดิน
               มีสภาพการระบายน้ําคอนขางเลวหรือเลว  น้ําทวมขังในชวงฤดูฝนและดินมีความอุดมสมบูรณต่ําและเนื้อดิน

               คอนขางจะเปนทรายมาก

                              การจัดการกลุมชุดดินที่ 20  เพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช  กลุมชุดดินนี้มีศักยภาพไมคอย

               เหมาะสมในการปลูกพืชเนื่องจากเปนดินเค็ม การที่จะใชปลูกพืชไร พืชผักและไมผล จึงสําเร็จไดยาก ยกเวน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29