Page 23 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 23

15

               ที่กําลังสลายตัวปะปนอยูมีสีเทาเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง  เมื่ออยูในสภาพเปยกคา

               ความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 7.0-8.5  และจะพบชั้นดินที่มีธาตุกํามะถันเปนองคประกอบอยูสูงภายใน

               ความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดินบน จึงทําใหกลายสภาพเปนกรดจัดมากเมื่อดินแหง


               ตารางที่ 2.4    ผลวิเคราะหดินของดินบางปะกง (Bpg)


           ระดับความลึก    เนื้อดิน (%)   pH 1:1   P      C     N       Exchange capacity and cation (cmol c /kg)  BS(%)  EC e
           (เซนติเมตร)  sand  silt  clay  water  (mg/kg)  (%)   (%)   Ca     Mg     K     Na     CEC   B/Cx100  (dS/m)
             5-100    3.0    42.0   55.0   3.5    77.0   2.64  0.10   8.00   27.80  2.40  51.60  58.7    100    40.00
            100-160   1.0    25.0   74.0   6.8    95.0   2.49  0.13  10.60   27.00  3.70  52.40  44.3    100    35.00
               ปรับปรุงมาจาก สถิระและคณะ, 2547



               ตารางที่ 2.5    ผลวิเคราะหดินของดินตะกั่วทุง (Tkt)



            ระดับความลึก     เนื้อดิน (%)   pH 1:1   P      C      N     Exchange capacity and cation (cmol c /kg)  BS(%)  EC e
             (เซนติเมตร)  sand  Silt  clay   water  (mg/kg)  (%)  (%)    Ca     Mg     K     Na    CEC  B/Cx100 (dS/m)
               0-30      3.7   29.6   66.7    4.5   15.5   3.74    -    3.70   14.00  2.20  42.50  30.4  100    17.15
              30-75     10.1   62.9   27.0    3.2   16.5   9.56    -    7.10   24.50  2.10  62.50  117.4  100   17.70
              75-125    10.1   65.5   24.4    2.8   14.8   11.84   -    8.90   29.80  0.90  70.90  172.5  100   17.15
             125-160     8.7   60.2   31.1    3.0   14.6   11.62   -    8.40   29.70  2.10  72.00  125.7  100   19.60
             160-200     7.2   56.5   36.3    3.0   18.3   9.70    -    7.50   27.70  1.90  60.30  103.3  100   18.13
               ปรับปรุงมาจาก สถิระ และคณะ, 2547




               ปญหาและขอจํากัดของกลุมชุดดินที่ 13 สําหรับในการปลูกพืช ไดแก ดินมีความเค็มสูงมาก การระบาย
               น้ําของดินเลวมาก น้ําทะเลทวมถึงประจํา สภาพของดินไมอยูตัว เปนเลน ความสามารถในการรับน้ําหนักต่ํา

               มาก ดินเปรี้ยวจัดเมื่ออยูในสภาพแหง

                              การจัดการกลุมชุดดินที่ 13 เนื่องจากกลุมชุดดินนี้มีขอจํากัดในการปลูกพืชหลายแหงและอยู

               ในระดับรุนแรง  ยากในการที่จะปรับปรุงแกไข  ถาจะพัฒนาจะตองลงทุนสูงมากใชเวลานาน  ซึ่งตามที่ไดอาจ

               จะไมคุมทุน  สําหรับพืชที่พอจะปลูกในกลุมชุดดินนี้  ไดแก  ขาว  มะพราว  ละมุดหรือพวกหญาเลี้ยงสัตวบาง
               ชนิด




                      2.6  กลุมชุดดินที่ 20  ในกลุมชุดดินนี้ไดมีการสํารวจและจําแนกดินไดตามภูมิสัณฐานและสภาพ

               แวดลอมตางๆ ไดแก
                              -  วัตถุตนกําเนิดของดิน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําจืดและตะกอนน้ําทะเล

                              -  ภูมิสัณฐาน เปนตะพักลําน้ําระดับต่ํา (low terrace) และตะพักทะเล (marine terrace)

                              -  สภาพพื้นที่และความลาดเท  มีความราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ  ความลาดเท 0-2

                                 เปอรเซ็นต
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28