Page 15 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 15

7


               นําไฟฟาของสารละลายที่สกัดจากดินอิ่มตัวดวยน้ํา (EC ) (Rhoads, 1968; Bernstein และ Francis, 1973)
                                                               e
               สามารถจะเปนสูตรและวิธีคํานวณไดดังนี้


                              leaching fraction (LF) or leaching requireมิลลิกรัมสมมูลย nt (LR) = D /D  =
                                                                                                    dw
                                                                                                        iw
               EC /EC  = EC /EC   e
                  iw
                       dw
                              iw
                                     D dw   = ปริมาณของน้ําที่ไหลซึมผานเขตรากพืช (คิดเปนความสูง = มิลลิเมตร)
                                     D iw   = ปริมาณน้ําที่ใหหรือทดเขาไป (คิดเปนความสูง : มิลลิเมตร)

                                     EC  = คาการนําไฟฟาของน้ําชลประทาน (มิลลิโมหตอเซนติเมตร)
                                        iw
                                     EC  = คาการนําไฟฟาของน้ําที่ไหลผานเขตรากพืช วัดใตเขตรากพืช
                                        dw
                                     EC  =  คาการนําไฟฟาของสารละลายที่สกัดจากดินที่อิ่มตัวดวยน้ํา (มิลลิโมห
                                        e
               ตอเซนติเมตร)




                              ในการคํานวณทางทฤษฎีเพื่อหาจํานวนน้ําที่จะนํามาใชลางดินอยางพอเหมาะมักจะไมคอย

               ไดผลในทางปฏิบัติเนื่องจากน้ําที่ใชลางดินเมื่อใสลงไปในดินแลว  อาจจะซึมลงไปในดินไมไดทั้งหมด  น้ําที่ได
               ผลในการลางดินจริงๆ จึงเปนสวนหนึ่งของน้ําลางดินที่ใสลงไปทั้งหมด ดังนั้น การปฏิบัติในการลางดินจึงตอง

               พิจารณาถึงคุณสมบัติของดิน ชนิดพืช วิธีการใหน้ํา คุณภาพน้ํา และสิ่งแวดลอมตางๆ ไมเพียงแตปริมาณน้ํา

               อยางเดียว  น้ําที่มีคุณภาพต่ําอาจจะนํามาใชในดินทรายหรือดินที่มีอัตราซึมผานสูง  จุดสําคัญ  ของดินชนิดนี้

               อยูที่สามารถใชน้ําลางเอาเกลือออกจากบริเวณรากพืชไดงาย  ถาดินแนนน้ําจะไมสามารถซึมลงไปในดินแต

               กลับขังอยูบนผิวดิน  นอกจากจะชะลางเกลือออกจากเขตรากพืชไมไดแลว  น้ํากลับทําใหรากพืชถูกน้ําทวมขัง
               และกดอากาศอีกดวย (Schiffgaard, 1974)


                              4.  ลดระดับน้ําใตดิน  การลดระดับน้ําใตดินลงไป  โดยวิธีระบายออกหรือสูบออกซึ่งจะทําให

               ดินแหงและสุก  ซึ่งเปนสวนสําคัญของการลางดิน  เพราะเมื่อดินแหงจะแตกเปนรองลึกลงไป  ทําใหน้ําซึมผาน

               ไปไดเร็วขึ้น

                              5.  การปลูกพืชหรือรักษาพืชพรรณที่ขึ้นอยูในบริเวณพื้นที่ดินเค็มใหปกคลุม  และปรับปรุง

               โครงสรางดินดีขึ้นเนื่องจากระบบรากพืช  จะทําใหดินโปรง  การระบายน้ําของดินก็ดีขึ้น  สงผลใหการลางดิน
               เค็มมีประสิทธิภาพและเร็วขึ้น

                              6.  การคัดเลือกพันธุพืชทนเค็มมาปลูก  พืชแตละชนิดมีการทนเค็มไมเทากัน  แมแตพืชชนิด

               เดียวแตตางพันธุกัน  ก็ยังมีความแตกตางกัน  การคัดเลือกพันธุพืชทนเค็มมาปลูกก็เปนวิธีการหนึ่งที่มีความ

               สําคัญ เนื่องจากการลางดินเค็มตองใชระยะเวลานาน จึงตองคัดเลือกหาพันธุพืชที่เหมาะสมทนทานตอความ

               เค็มไดดี และใหผลตอบแทนที่ดี จะทําใหมีรายไดดี โดยสามารถดูไดในตารางพืชทนเค็ม (ตารางภาคผนวกที่
               3)
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20