Page 20 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 20

12

               การจัดการกลุมชุดดินที่ 8 เพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                              -  การจัดการขุดรองเพื่อการระบายน้ําของดิน  จําเปนตองมีการสูบน้ําจากรองสวนออกใน

                                 บางชวงน้ําทะเลหนุน เพื่อใหการระบายน้ําของดินดีขึ้น และยังเปนการระบายเกลือออก

                                 จากพื้นที่ไดอีกทางหนึ่ง
                              -  การจัดการดานความรวนซุยของดินและปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดินนั้น  และทํา

                                 โดยวิธีที่คลายคลึงกับการจัดการในกลุมชุดดินที่ 3 ดังกลาว


                      2.3  กลุมชุดดินที่ 9  ในกลุมชุดดินนี้ไดมีการสํารวจและจําแนกตามภูมิสัณฐานและสภาพแวดลอม

               ตางๆ ดังนี้

                              -  วัตถุตนกําเนิดดิน เกิดจากตะกอนน้ําทะเลพัดพามาทับถม (marine deposits)

                              -  ภูมิสัณฐาน ที่ราบน้ําทะเลเคยทวมถึง (forner tidal flats)
                              -  สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ ความลาดเทนอยกวา 1 เปอรเซ็นต

                              -  การระบายน้ําของดินเลว น้ําขังที่ผิวดิน 5-6 เดือนในรอบป

                              -  พืชพรรณและการใชประโยชน สวนใหญทํานาขาว ยกรองปลูกไมผล เชน มะพราว




                              รายชื่อชุดดินในกลุมชุดดินที่ 9 ไดแก ชุดดินชะอํา (Cha-Am Series = Ca)
                      ลักษณะของกลุมชุดดิน  เนื้อดินเปนดินเหนียวตลอดหนาตัดดิน  ดินชั้นบนสีเทาเขมหรือสีเทา  พบจุด

               ประสีเหลืองหรือสีเหลืองปนแดง สวนดินชั้นลางหรือสีเทาปนเขียวมะกอก พบจุดประสีเหลืองฟางขาวของสาร

               จาโรโซทอยูในระดับตื้นกวา 50 เซนติเมตร จากผิวดินบนและยังพบเศษพืชที่ที่กําลังเนาเปอยอยูในดินชั้นลาง
               ดวย ปฏิกิริยาของดินบนเปนกรดจัดมาก มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.0 หรือต่ํากวา สวนดินชั้นลาง

               ที่เปนตมทะเลมีปฏิกิริยาเปนกลางถึงเปนดาง อยูระหวาง 7.0-8.5 และเปนดินเค็มดวยความอุดมสมบูรณตาม

               ธรรมชาติปานกลาง


               ตารางที่ 2.2 ผลวิเคราะหดินของดินชะอํา


               ระดับความลึก   เนื้อดิน (%)  pH 1:1    P     C     N      Exchange capacity and cation (cmol c /kg)  BS(%)  EC e
                (เซนติเมตร) sand  silt  clay  water  (mg/kg)  (%)  (%)  Ca     Mg     K     Na    CEC   B/Cx100 (dS/m)
                  0-19   4.50  31.50  64.00  3.20   18.40  1.51   -    14.80  26.60  0.10  12.50  39.70   100   5.00
                  19.46  8.50  28.00  63.50  3.60   10.80  1.40   -    4.50   12.00  1.00  9.20   41.70   100   2.25
                  46.90  4.00  15.00  81.00  3.50   10.80  1.06   -    4.60   12.20  1.10  12.90  36.70   100   4.00
                 90-120  5.80  13.20  81.00  3.50   10.00  0.91   -    5.20   19.70  0.80  24.50  35.40   100   4.50
                 120-145  7.00  24.50  58.50  3.70  19.10  1.06   -    8.00   30.60  0.90  30.10  42.90   100   5.65
                 145-200  4.10  34.40  61.50  6.30  117.50  1.51  -    21.60  27.50  1.60  44.40  53.80   100   6.40
               ปรับปรุงมาจาก สถิระ  และคณะ, 2547
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25