Page 13 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 13

5


               เลี้ยงกุงบริเวณใหมเปนเชนนี้ตอไปเรื่อยๆ   ปญหาที่เกิดขึ้นจะทําใหบริเวณพื้นที่ที่ใชเลี้ยงกุงกุลาดํานั้นเกิด

               สภาพดินเค็มและน้ําเค็มและเปนบอน้ํา  ไมสามารถทําการเพาะปลูกพืชไดอีกตอไป  แนวทางการแกไขปญหา

               เพื่อใชประโยชนพื้นที่บริเวณเหลานี้ นอกจากการปรับปรุงพื้นที่ และลางเกลือออกไป เพื่อใหดินมีสภาพเหมาะ
               สมกับการปลูกพืช  ซึ่งจะตองใชงบประมาณลงทุนซึ่งสูงมาก  และใชระยะเวลาดําเนินการที่คอนขางนาน  วิธี

               การที่เหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน  คือ  ดัดแปลงพื้นที่ใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม  เชน  การเลี้ยง

               ปลา ปลาน้ํากรอย คือ ปลากะพง ปลานวลจันทร เปนตน หรือปลาน้ําจืดที่คอนขางทนเค็ม ปลาหมอเทศ และ

               ในบริเวณที่มีน้ําเค็มเล็กนอยการเลี้ยงปลานิลก็สามารถกระทําได  ซึ่งวิธีการนี้เปนวิธีการที่ไมตองลงทุนสูงใน
               การปรับปรุงพื้นที่  และเมื่อมีการเลี้ยงปลาตอเนื่องกันระยะหนึ่ง  พื้นที่เหลานี้จะลดระดับความเค็มลงไปโดย

               ธรรมชาติ

                              7.  พิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ที่จะเขาไปพัฒนาเพื่อกิจกรรมตางๆ  ทั้งดานเกษตร

               กรรมหรืออุตสาหกรรม ซึ่งควรหลีกเลี่ยงหากเปนบริเวณชายฝงทะเลที่เปนอยูอาศัยของสัตวน้ํา

                              8. การใชสารเคมี เชน ปุย และยาปราบศัตรูพืชควรใชอยางระมัดระวังและเลือกยาปราบศัตรู
               พืชชนิดยอยสลายได

                              9.  การปรับปรุงดินเค็มชายทะเล  ดินเค็มชายทะเลโดยทั่วไปถึงแมจะมีศักยภาพที่อุดม

               สมบูรณก็ตามแตก็ไมสามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได  การปรับปรุงดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น  ก็ยังไดแตตองลงทุน

               สูงจึงควรคํานึงถึงความเหมาะสม  สภาพเศรษฐกิจและสังคม  ตลอดจนสภาพสิ่งแวดลอมตางๆ  ซึ่งควรนํามา

               พิจารณาผลตอบแทนในการปรับปรุงพื้นที่ดินเค็มชายทะเลตอไป อยางไรก็ตามขั้นตอนตางๆ ที่จําเปนมีดังนี้


                              ก.  ปรับปรุงเพื่อการเกษตรกรรม  การปรับปรุงแกไขดินเค็มชายทะเลเพื่อการเพาะปลูก  โดย
               ปกติจะใชเวลานานและลงทุนสูงซึ่งควรพิจารณาถึงผลตอบแทนซึ่งการปรับปรุงกระทําไดดังนี้

                              1. การสรางคันดินกั้นน้ําทะเล พรอมประตูระบายน้ํา ในพื้นที่ดินเค็มชายทะเลทั่วๆ ไปจําเปน

               อยางยิ่งที่จะตองมีคันดินเพื่อปองกันน้ําทะเลซึ่งจะพาเกลือเขามาสะสมในดิน   คันดินที่สรางตองใหสูงพน

               ระดับน้ําทะเลที่ขึ้นสูงสุด (spring tide)  และแข็งแรงพอที่จะปองกันแรงดันของน้ําและบดอัดใหแนนเพื่อปอง

               กันการรั่วซึมของน้ําที่จะไหลเขามาในบริเวณที่จะลางดิน
                              2. การขุดคลองระบายน้ําใหเพียงพอ มีความจําเปนสําหรับการลางเกลือออกจากดิน เมื่อใช

               น้ําจืดหรือน้ําฝนลางดินแลวตองระบายออกเพื่อลดระดับความเค็มของดิน  ความลึกของคลองระบายโดยทั่ว

               ไปมักจะใชที่ระดับ 1.50 เมตร ก็เพียงพอสําหรับไมยืนตน และความลึก 0.50 เมตรสําหรับพืชลมลุก และระยะ
               หางของคลองระบายสายยอย  ถาถี่มากก็มีประสิทธิภาพในการลางดินไดดีกวาระยะหาง  แตก็สิ้นเปลือง  ลง

               ทุนสูง โดยทั่วไปใชระยะ 20 เมตร ซึ่งเหมาะสมสําหรับการลางดินเค็มชายทะเล



                              3.  การลางดินเปนวิธีการที่จะลดความเค็มในพื้นที่ใหลดลงเพื่อเพาะปลูกพืชอาจทําไดโดยใช
               วิธีลางดิน และตองมีระบบระบายน้ําที่ดีพอ ซึ่งวิธีการลางดินที่นํามาใชในทางปฏิบัติมีอยู 2 วิธีคือ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18