Page 16 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 16

8


                              ข.  ปรับปรุงใหสอดคลองกับสภาพธรรมชาติ  ในการพิจารณาการใชประโยชนพื้นที่ดินเค็มให

               สอดคลองกับสภาพธรรมชาติ พื้นที่บางแหงไมเหมาะสมที่จะนํามาปรับปรุงแกไขเพื่อใชในการเกษตรหรือปลูก

               พืช ควรพิจารณาใชประโยชนตามความเหมาะสมและเกิดประโยชนสูงสุดสําหรับพื้นที่บริเวณนั้น
                              1.  ปาชายเลนเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติหลากหลาย  เปนระบบนิเวศวิทยาชายฝงทะเลที่

               สําคัญยิ่ง ปจจุบันปาไมชายเลนไดถูกบุกรุกทําลายลงไปมาก สาเหตุหนึ่งที่สําคัญ  คือ การบุกรุกเขาทํานากุง

               จนเปนที่นาวิตกวา  กําลังจะหมดไปและจะทําสภาพสมดุลธรรมชาติเสียไป  พื้นที่บางแหงที่เหมาะสมควรตอง

               ดําเนินการปลูกปาเพิ่มจํานวนพื้นที่ปาไมชายเลนมากขึ้น
                              2.  นาเกลือ  พื้นที่ชายเลนบางแหงเปนบริเวณที่ปริมาณฝนตกนอย  ไมมีน้ําจืดเพียงพอเพื่อ

               การเพาะปลูก และพื้นที่บริเวณนั้นเหมาะสม สําหรับการทํานาเกลือ ควรจัดใหเปนพื้นที่สําหรับการทํานาเกลือ

               เชนสมุทรสงคราม เพชรบุรี ฯลฯ

                              3. ปลูกปาไมโตเร็ว เปนการปลูกไมทนเค็มบางชนิด เชน ไมสนฯ เพื่อใชประโยชนจากไมทํา

               เสาเข็มหรือทําเยื่อกระดาษ เปนตน
                              4.  แหลงทองเที่ยวพักผอน  มีพื้นที่หลายแหงเหมาะสมสําหรับใชเปนที่ทองเที่ยวและพักผอน

               เพื่อเพิ่มรายไดของทองถิ่นและของประเทศ

                              5. แหลงอุตสาหกรรมเนื่องจากใกลทาเรือ สะดวกในการขนสง แตตองควบคุมไมใหปลอยน้ํา

               เสียหรือของเสีย ใหเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอมโดยเฉพาะการปนเปอนสารพิษ ธาตุโลหะหนัก ฯลฯ ลงไป

               ในดินและน้ําบนดินและใตดิน
                              6. นากุง การเลี้ยงกุงทะเลจัดการใหอยูในพื้นที่ที่เหมาะสม




                              นอกจากนี้แลวการใชอินทรียวัตถุเขามาชวยในการปรับปรุงดินเค็มชายทะเลเปนวิธีหนึ่งที่จะ
               ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้น  ทําใหดินไมแนนทึบ  ดินอุมความชื้นไดมาก  ลดการระเหยของน้ํา

               ลดการพาเกลือจากดินชั้นลางมาสะสมบนผิวดิน  และการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ  เปนการเพิ่มความอุดม

               สมบูรณแกดินดวย ซึ่งรายละเอียดของอินทรียวัตถุและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ จะกลาวในบทที่ 3 ตอไป
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21