Page 12 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 12

4

                              3.  การชลประทานที่ขาดการวางแผนในเรื่องผลกระทบของดินเค็ม  มักกอใหเกิดปญหาตอ

               พื้นที่ซึ่งใชประโยชนจากระบบชลประทานนั้น  แตถามีการคํานึงถึงสภาพพื้นที่และศึกษาเรื่องปญหาดินเค็ม

               เขารวมดวยกอนที่จะใชระบบชลประทานก็จะเปนการชวยแกปญหาดินเค็มไดอีกวิธีหนึ่ง
                              4. การตัดไมทําลายปาหรือการปลอยพื้นที่บริเวณที่มีศักยภาพในการแพรกระจายเกลือให

               เกิดการวางเปลาทําใหเกิดการแพรกระจายของดินเค็มในบริเวณเชิงเนิน ซึ่งสวนใหญจะเปนนาขาว

                              5. การเพาะเลี้ยงกุงกุลาดํา ซึ่งตองเลี้ยงในสภาพน้ํากรอย จะทําใหเกิดการสะสมของเกลือใน

               บริเวณบอเลี้ยงและพื้นที่ใกลเคียง




                      1.3 แนวทางการจัดการดินเค็มชายทะเล
                              สําหรับแนวทางการจัดการดินเค็มชายทะเลนั้นพอสรุปไดเปนขอๆ  ดังนี้ (รังสรรค,  ไมระบุป

               พิมพ)

                              1.  จําแนกประเภทและกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสม  ในปจจุบันยังไมมีการ
               จําแนกประเภท  และกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินในบริเวณชายฝงทะเลอยางถูกตองและเหมาะสม  การ

               นําที่ดินบางประเภทมาใชประโยชนอยางไมเหมาะสม  จึงกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางนิเวศน  สังคม  และ

               เศรษฐกิจ อยางรุนแรง

                              2. การจัดระบบชลประทานอยางเหมาะสม เปนการปองกันไมใหน้ําเสียที่ถูกระบายน้ําทิ้งถูก

               นํากลับมาใชอีก  ซึ่งจะเปนการขจัดปญหาการระบาดของโรคสัตวน้ํา  ปญหาคุณภาพของน้ําในบอกุงและเปน
               การปองกันไมใหเกิดการแพรกระจายของน้ําเค็ม เขาไปในบริเวณพื้นที่ที่ไมตองการ

                              3.  ทําความเขาใจกับเกษตรกรผูเลี้ยงกุงและผูปลูกพืช  ใหมีการใชประโยชนที่ดินตามการ

               จําแนกประเภทอยางถูกตองและเหมาะสม  พรอมทั้งแนะนําถึงขอดีและขอเสียของการใชที่ดินที่ไมเหมาะสม

               และอาจนํามาตรการทางกฎหมายมาใชรวมดวยอยางเหมาะสม         เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการแก
               ปญหา

                              4.  การนําเทคโนโลยีการปรับปรุงดินมาปรับใชอยางเหมาะสม  เชน  การใชวัสดุปรับปรุงดิน

               เปรี้ยวในดินเค็ม  การใชวัสดุปรับปรุงสมบัติทางเคมีและกายภาพของดิน  การเลือกเลี้ยงสัตวและปลูกพืชที่

               เหมาะสมตามการจําแนกประเภทที่ดิน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการใชประโยชนที่ดิน
                              5.  การรักษาดุลธรรมชาติ  จากการศึกษาพื้นที่ที่มีการเลี้ยงกุงกุลาดํา  โดยศึกษาผลกระทบ

               จากการเลี้ยงกุงตอคุณภาพน้ําในจังหวัดสุราษฎรธานี  ซึ่งผลการศึกษาพอสรุปไดวาปาชายเลนเปนแหลงชวย

               กรองของเสีย  ที่ระบายออกจากนากุง  และชวยรักษาสภาพแวดลอม  เนื่องจากน้ําที่ระบายออกจากนากุง

               ประกอบดวยธาตุอาหารพืช ซึ่งการมีปาชายเลนจะทําใหมีการนําธาตุอาหารพืชไปใชประโยชนได และในขณะ

               เดียวกันทําใหคุณภาพของน้ําดีขึ้น ดังนั้นการเลี้ยงกุงทะเลจําเปนตองมีปาชายเลนควบคูไปดวย
                              6.  ในบริเวณพื้นที่ที่เคยใชประโยชนเปนนากุงกุลาดําและถูกปลอยใหทิ้งราง  เนื่องจาก

               ประสบกับการขาดทุน ซึ่งเปนผลมาจากปญหาคุณภาพน้ํา ดิน สิ่งแวดลอมอื่นๆ และโรคระบาด พื้นที่ทํานากุง

               ที่ถูกทิ้งรางเหลานี้ไดเพิ่มปริมาณขึ้นทุกป  เมื่อบริเวณพื้นที่เดิมใชประโยชนไมได  เกษตรกรไดยายไปทําการ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17