Page 17 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 17

9

                  บทที่  2  กลุมชุดดินและชุดดินตางๆ ที่พบในพื้นที่ดินเค็มชายทะเลในประเทศไทย




                              ในบทนี้กลาวถึงกลุมชุดดินที่ไดมีการสํารวจและจําแนกในพื้นที่ดินเค็มชายทะเลของประเทศ

               ไทยโดยกรมพัฒนาที่ดิน 2541  ซึ่งอธิบายถึงลักษณะของดินที่บอกลักษณะในชุดดินหรือกลุมชุดดินนี้เปนดิน
               อะไร ซึ่งชุดดินตางๆ สามารถสรุปไดดังนี้

                              2.1 กลุมชุดดินที่ 3 ไดแก ชุดดินสมุทรปราการ

                              2.2 กลุมชุดดินที่ 8 ไดแก ชุดดินสมุทรสงคราม
                              2.3 กลุมชุดดินที่ 9 ไดแก ชุดดินชะอํา

                              2.4 กลุมชุดดินที่ 12 ไดแก ชุดดินทาจีน

                              2.5 กลุมชุดดินที่ 13 ไดแก ชุดดินบางปะกง ชุดดินตะกั่วทุง

                              2.6 กลุมชุดดินที่ 20 ไดแก  ชุดดินหนองแก


                              2.1  กลุมชุดดินที่ 3  สําหรับในกลุมชุดดินนี้มีการสํารวจและจําแนกตามสภาพภูมิสัณฐาน

               และสภาพแวดลอมตางๆ เขามาประกอบกัน เชน
                              -  วัตถุตนกําเนิดดิน  เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําทะเล (marine water deposits)

                                 และตะกอนน้ําจืด (fresh water deposits)

                              -  ภูมิสัณฐาน เปนที่ราบน้ําทะเลทวมถึง (former tidal flats) และที่ราบจากแมน้ําทวมถึง

                                 (river basin)

                              -  สภาพพื้นที่  เปนพื้นที่ราบเรียบหรือที่ราบลุม  มีความลาดเทของพื้นที่นอยกวา 1
                                 เปอรเซ็นต

                              -  สภาพการระบายน้ําของดิน  สภาพดินมีการระบายน้ําเลว  ในชวงฤดูฝนอาจมีน้ําทวมขัง

                                 4-5 เดือน

                              -  พืชพรรณและการใชประโยชน  สวนใหญใชทํานา  ปลูกไมผลหรือพืชผักบางชนิดไดโดย

                                 การยกรองบนพื้นที่พืชพรรณธรรมชาติดั้งเดิมเปนปาชายเลนและปาหญา


                              รายชื่อชุดดินที่อยูในกลุมชุดดินที่ 3 ไดแก ชุดดินบางกอก (Bangkok series : Bk) ชุดดิน
               บางแพ (Bang Phae series : Bph) ชุดดินฉะเชิงเทรา (Chachoengsao series: Cc) ชุดดินพิมาย (Phimai

               series : Pm) ชุดดินสมุทรปราการ (Samut Prakan series : Sm) เปนตน



                              ลักษณะของกลุมชุดดิน มีเนื้อดินเปนดินเหนียว ดินบนมีสีดําหรือเทาเขมมาก สวนดินชั้นลาง
               สีเทาหรือน้ําตาลออน  พบจุดประสีเหลืองและสีน้ําตาลหรือสีแดงตลอดหนาตัดดิน  มีการระบายน้ําเลว  บาง

               พื้นที่จะพบเปลือกหอยในดินชั้นลาง  ถาพบดินกลุมนี้บริเวณชายฝงทะเล  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปน

               ดางคาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 6.5-7.5 หรือบางที่น้ําจะอยูระหวาง 7.5-8.0 ความอุดมสมบูรณปาน
               กลางถึงสูง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22