Page 18 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 18

10

                              -  ชุดดินสมุทรปราการ (Sm)  ลักษณะดินเปนดินเหนียวตลอดหนาตัดดิน  ดินชั้นบนสีเทา

               เขมหรือน้ําตาลเขมปนเทา  และมีจุดประสีน้ําตาลแกและแดงปนเหลือง  สวนดินชั้นลางสีเทาเขมหรือสีเทาอม

               เขียวมะกอกและพบจุดประสีน้ําตาล  น้ําตาลปนเหลือง  หรือสีน้ําตาลเขมปนแดง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปาน
               กลางถึงเปนกรดเล็กนอย  ในดินชั้นบนคาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 5.5-6.5  และเปนกรดเล็กนอยถึง

               เปนดางในชั้นลาง คาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 6.5-8.0


               ตารางที่ 2.1  ผลวิเคราะหดินของดินชุดสมุทรปราการ (Sm)



               ระดับความลึก   เนื้อดิน (%)  pH 1:1   P     C     N       Exchange capacity and cation (cmol c /kg)  BS (%)  EC e
                (เซนติเมตร)  sand  silt  clay  water  (mg/kg)  (%)  (%)  Ca   Mg      K    Na     CEC   B/Cx100 (dS/m)
                   25     2.60  36.10  61.40  6.7  65.20  1.51  0.06   8.60   16.60  1.70  7.40  47.40   100    3.57
                  25-46   0.70  45.30  54.00  7.7  175.00  0.22  0.06  14.10  20.50  2.20  12.40  61.60  100    3.42
                  46-75   0.20  52.20  47.60  7.8  190.00  0.20  0.05  12.80  16.90  2.20  14.00  59.40  100    3.83
                 75-105   2.20  42.10  55.70  8.0  295.00  0.30  0.06  19.60  16.60  2.70  17.40  54.80  100    5.61
                 105-140  91.00  4.10  4.90  8.3   38.20  0.05  0.01   9.40   2.60   1.10  9.40  156.10  100    2.86
                 140-165  71.10  23.10  5.90  7.7  83.00  0.52  0.03   20.10  6.34   1.50  9.30  120.50  100    6.12
                 165-200  20.60  58.50  20.90  7.5  247.00  0.31  0.07  23.70  15.29  2.80  25.20  82.50  100   13.77
               ปรับปรุงมาจาก สถิระ และคณะ, 2547



               ปญหาและขอจํากัดของกลุมชุดดินที่ 3 ในการปลูกพืชไดแก
                              -  น้ําทวม (flooding)  เนื่องจากกลุมชุดดินนี้พบในบริเวณที่ราบต่ํา  ในชวงฤดูฝนจะมีน้ํา

                                 ทวมขังเปนระยะเวลานานถึง 4-5 เดือน คือไมเหมาะสมในการปลูกพืชไร ไมผลและพืช

                                 ผัก สวนใหญใชในการปลูกขาว

                              -  ดินมีการระบายน้ําเลว (poorly drained soils)
                              -  ดินเหนียวจัดและดินมีโครงสรางคอนขางแนนทึบทําใหการไถพรวนดินคอนขางลําบาก

                                 และเปนอุปสรรคในการชอนไชรากพืช

               การจัดการกลุมชุดดินที่ 3 เพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช ไดแก

                              -  การเลือกชนิดพืชใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และชนิดของดิน  เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 3

                                 พบในสภาพพื้นที่ราบลุมราบเรียบหรือเกือบราบเรียบเปนสวนใหญ  จึงเหมาะสมในการ
                                 ปลูกขาวเปนอันดับแรก และปลูกพืชไรอายุสั้นไดแก ถั่วเขียว ถั่งเหลือง ถั่วลิสง และพืช

                                 ผักตางๆ  กอนและหลังการปลูกขาวได  การใชพืชตระกูลถั่วก็เพื่อเปนการปรับปรุงบํารุง

                                 ดินและปรับโครงสรางทางกายภายของดินไปดวย

                              -  การจัดการเพื่อแกปญหาน้ําทวมและการระบายน้ําของดิน  กลุมชุดดินนี้มักจะมีปญหา
                                 เรื่องน้ําทวมขังในฤดูฝนถาจะใชประโยชนในการปลูกพืชไร  ไมผล  และพืชผักจําเปนตอง

                                 แกไขปญหาน้ําทวม โดยการทําคันลอมรอบพื้นที่เพื่อปองกันน้ําทวม (poldder system)

                                 และมีประตูสําหรับเปดและปดใหน้ําเขาและระบายออกจากแปลงได
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23