Page 14 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 14

6


                             - การขังน้ําสําหรับการลางดินแบบตอเนื่อง (continuous ponding) วิธีการนี้ใชไดดีกับดินที่มี

               การซาบซึมน้ําไดดี สวนมากเปนดินทราย น้ําใตดินที่เค็มอยูตื้นและดินมีอัตราการระเหยน้ําสูง แตตองมีระบบ

               ระบายน้ํามิเชนนั้นจะทําใหมีการสะสมของเกลือสูงเพิ่มขึ้น วิธีการคือใหน้ําทวมผิวดินประมาณ 10 เซนติเมตร
               ตลอดเวลาเพื่อทดแทนน้ําสวนที่ระบายออกและสูญเสียโดยการระเหย (evapotranspiration) วิธีนี้นิยมใชกับ

               พืชที่ทนตอน้ํา เชน ขาว ผักบุงจีน


                             - การขังน้ําสําหรับการลางดินแบบเปนชวงเวลา (intermittent ponding) วิธีนี้เหมาะสําหรับ

               ดินที่มีการซึมน้ําต่ํา น้ําใตดินอยูลึก ถาน้ําใตดินไมเค็มหรือเค็มเล็กนอย ชวงเวลาของการระเหยน้ําจากดินลึก

               ขั้นแรกใหน้ําชลประทานประมาณ 200  ลูกบาศกเมตรตอไร  เพื่อละลายเกลือ  หลังจากนั้นจึงใหน้ําอีก

               ประมาณ 300 ลูกบาศกตอไรเพื่อลางเกลือออกไปและปองกันการเกิดเกลือขึ้นใหมในดินชั้นบน แตระยะเวลา
               การลางดินจะมากกวาแบบใหน้ําตอเนื่องประมาณ 40  เปอรเซ็นต  เพื่อลางเกลือออกจากดินที่ความลึก 60

               เซนติเมตร (FAO, 1971; Abrol และ Bhunbla, 1973; Fahad และคณะ, 1985) วิธีนี้นิยมใชกับพืชไรและผัก

               ตางๆ



                             ขั้นตอนของการปรับปรุงดินเค็มโดยวิธีการลางเกลือที่เกษตรกรสามารถนําไปปฏิบัติได คือ

                              -  กําจัดวัชพืชที่ขึ้นอยูในพื้นที่เสียกอน

                              -  ปรับพื้นที่ใหเรียบ (ความแตกตางของระดับไมควรเกิน 5 เซนติเมตรโดยประมาณ)

                              -  ไถดินใหลึก 20-30 เซนติเมตร เปนอยางนอย หากสามารถใช subsoiler ทลายดินลางให

                                 แยกเปนรองก็จะไดผลดีขึ้น หลังจากนั้นปรับระดับอีกครั้ง
                              -  แบงพื้นที่ที่กวางออกเปนสวนๆ ประมาณ 1-5 ไร แตละแปลงมีดินกั้นรอบ

                              -  พอน้ําเขาแปลงอยางรวดเร็ว   หากแตละแปลงไมไดอยูในระดับเดียวกันใหทดน้ําเขา

                                 แปลงที่มีระดับต่ํากอนทดน้ําเขาแปลงประมาณครั้งละ 250-300 ลูกบาศกเมตรตอไรเทา

                                 นั้น  ไมควรปลอยน้ําทั้งหมดในคราวเดียว  เพื่อใหน้ําคอยๆ  ซึมลงไปในดินและละลาย

                                 เกลือที่มีอยูชะลางลงสูดินลางเรื่อยๆ
                              -  ปลอยน้ําเขาไปเพิ่มอีก 250-300 ลูกบาศกเมตรตอไรทุกๆ 2-3 วัน ถาเปนไปไดควรจะมี

                                 การวัดคาความเค็มของเกลือที่ระบายออกมาหรือวิเคราะหหาปริมาณโซเดียมและคลอ

                                 ไรดในน้ําดวย




                              ในการคํานวณปริมาณน้ํา  หรือสัดสวนของน้ําที่ใชลางเกลือในดินเค็ม (leaching fraction :
               L.F.)  สวนใหญนิยมคํานวณจากปริมาณน้ําที่ระบายออกหลังจากลางดินเทียบกับปริมาณน้ําที่ใชลางดิน  โดย

               ปริมาณน้ําจะคิดเปนความสูงของน้ํา (มิลลิเมตร  หรือ  เซนติเมตร)  อีกวิธีหนึ่งคือ  เทียบอัตราสวนระหวางคา

               การนําไฟฟา (EC ) ของน้ําที่ใชลางเกลือกับคาการนําไฟฟาของน้ําที่ระบายออกหลังจากลางเกลือหรือคาการ
                              w
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19