Page 11 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 11

3

                              3.  ปญหาคุณภาพของน้ํา  การเลี้ยงกุงกุลาดําโดยเฉพาะอยางยิ่งการเลี้ยงแบบพัฒนา  เมื่อ

               ระบายน้ําออกจากบอกุงสูแหลงน้ําธรรมชาติแลว  จะกอใหเกิดปญหาตอสภาพแวดลอม  เนื่องจากคุณภาพ

               ของน้ําไดแกความเค็ม  ปริมาณสารเคมี  ยาตางๆ  จะมีปริมาณสูง  ปริมาณออกซิเจนต่ํา  เศษของเหลือที่ยอย
               สลายไมหมดที่อยูกนบออีกเปนจํานวนมาก รวมทั้งโรคระบาดของกุง ซึ่งเปนการเพิ่มมลพิษของน้ํา ทําใหคุณ

               ภาพของน้ําไมเหมาะสมกับสัตวน้ําและการเพาะปลูก

                              4. ปญหาดานอื่นๆ ที่เกิดจากการเกษตรกรรมในที่ดอน คือ การชะลางพังทะลายของดินที่จะ

               กอใหเกิดการตื้นเขินของแมน้ําลําคลอง  และความขุนขนของตะกอนดินอาจกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตที่
               ไวตอความเปลี่ยนแปลงในบริเวณชายฝงทะเล  นอกจากนี้การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช  ซึ่งจะมีสารเคมีที่ตก

               คางชะลางไหลไปตามแมน้ําลําคลอง  ลงสูระบบนิเวศนชายฝงทะเลและเขาสูวงจรลูกโซอาหาร  เมื่อมนุษยรับ

               ประทานอาหารทะเลจากบริเวณนั้น ก็อาจเกิดอันตรายตอสุขภาพหรือชีวิตได




                      1.2 การแพรกระจายดินเค็ม

                              น้ําเปนตัวการสําคัญในการแพรกระจายดินเค็มไดอยางดี  ลักษณะที่สําคัญของดินเค็มคือ

               การที่อยูในสภาพไมคงที่มีการเคลื่อนที่อยูเสมอตามสภาพการเคลื่อนที่ของน้ํา เมื่อน้ําพบกับสารประกอบของ

               เกลือซึ่งเปนสารที่ละลายน้ําได  ก็จะนําพาไปตามสวนตางๆและกอใหเกิดปญหา  แกพื้นที่บริเวณตางๆ  การ

               แพรกระจายแบงออกไดจากสาเหตุการกระทําของมนุษยและสาเหตุจากธรรมชาติ
                              สาเหตุจากธรรมชาติ สามารถแบงออกไดดังนี้ (กรมพัฒนาที่ดิน 2539)

                              1. หินหรือแรที่อมเกลืออยูเมื่อสลายตัวหรือผุพังไป     โดยขบวนการทางเคมีและทางกายภาพ

               เชน hydrolysis, hydration, solution, oxidation เปนตน ดังนั้นจะปลดปลอยเกลือตางๆออกมา เกลือเหลานี้

               อาจสะสมอยูกับที่หรือเคลื่อนตัวไปกับน้ําแลวซึมลงสูชั้นลางหรือซึมกลับขึ้นมาบนผิวดินไดโดยการระเหยของ

               น้ํา โดยใชพลังงานแสงแดดหรือถูกพืชดูดนําไปใช
                              2. น้ําใตดินเค็มที่อยูระดับตนใกลผิวดิน เมื่อน้ํานี้ซึมขึ้นสูผิวดินก็จะนําเอาเกลือขึ้นมาดวย

               ภายหลังจากที่น้ําระเหยแหงไปแลวสวนที่เหลือตกคางอยูบนดินก็คือเกลือ

                              3. ที่ลุมต่ําที่เปนแหลงรวมของน้ํา น้ําแหลงนี้สวนมากจะมีเกลือละลายอยูเพียงเล็กนอย

               นานๆ เขาก็เกิดการสะสมของเกลือขึ้นโดยการระเหยของน้ํา

                              สาเหตุจากการกระทําของมนุษย

                              1. การทํานาเกลือ  ทั้งวิธีการสูบน้ําเค็มขึ้นมาตากหรือวิธีการขูดคราบเกลือจากผิวดินมาตม

               หลังจากตมเกลือที่อยูในน้ําทิ้งที่จะมีปริมาณมากพอที่จะทําใหพื้นที่บริเวณใกลเคียงกลายเปนพื้นที่ดินเค็ม
               หรือแหลงน้ําเค็มได

                              2. การสรางอางเก็บน้ําบนพื้นที่ดินเค็มหรือพื้นที่ที่มีระดับน้ําใตดินเค็ม ทําใหเกิดการ

               ยกระดับของน้ําใตดินขึ้นมา ทําใหพื้นที่โดยรอบและบริเวณใกลเคียงเกิดเปนพื้นที่ดินเค็มได
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16