Page 7 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 7

คํานํา



                                 ดินเค็มเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งที่เกิดขึ้นจากตามธรรมชาติคือแหลงหินเกลือที่

                   อยูใตดินหรือตะกอนน้ําทะเล และเกิดจากมนุษยเปนผูกระทํา เชน การตัดไมทําลายปา การทําเกลือ

                   ทําใหเกิดการแพรกระจายของดินเค็มขึ้น  และมีผลกระทบตอพื้นที่เกษตรกรรมของประเทศไทย  ทํา

                   ใหการเจริญเติบโตของพืชไมดีผลผลิตลดลงหรือไมไดผลผลิตเลย ซึ่งจะมีผลตามมาคือเกษตรกรขาด
                   รายได ตองยายถิ่นทํากินสภาพแวดลอมและระบบนิเวศนเสื่อมโทรมลง ดังนั้น จึงตองหาแนวทางแก

                   ไขที่ปรับปรุงหรือฟนฟูสภาพพื้นทีดินเค็มใหมีความสามารถเพาะปลูกพืชไดและกอใหเกิดรายไดแก

                   เกษตรกร

                                 การจัดทําเอกสารวิชาการฉบับนี้ขึ้น  มีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนแนวทางในการจัด
                   การในพื้นที่ดินเค็มชายทะเล โดยนําปุยอินทรีย วัสดุปรับปรุงดิน วิธีการลางดิน ตลอดจนการคลุมดิน

                   ดวยวัสดุที่หางายในพื้นที่  เพื่อใหสามารถปลูกพืชไดในพื้นที่ดินเค็มนอยถึงดินเค็มปานกลาง  หวังวา

                   เอกสารวิชาการฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูอาน  ผูสนใจ  นักวิชาการ  รวมถึงนิสิต  นักศึกษาและเจา

                   หนาที่ปฏิบัติงานในสนามของหนวยงานตางๆ  ใชเปนแนวทางและนําไปประยุกตใชในการปรับปรุง

                   แกไขสภาพพื้นที่ดินเค็มตอไป
















                                                                     (นายไพฑูรย  คดีธรรม)
                                                              ผูอํานวยการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อปองกัน

                                                                  การเปนทะเลทรายและการเตือนภัย
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12