Page 31 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 31

21  ชุดดินอน (On series: On)



                                  กลุมชุดดินที่  25
                                  การจําแนกดิน  Loamy-skeletal over fragmental, mixed, subactive, isohyperthermic Aeric

                                                       (Plinthic) Epiaquults [Petroferric Epiaquults]

                                  การกําเนิด    เกิดจากตะกอนชะมาทับถมอยูบนสวนต่ําของพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผนดิน
                                  สภาพพื้นที่   ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %

                                  การระบายน้ํา                คอนขางเลวถึงเลว

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชา
                                  การซึมผานไดของน้ํา        ชา

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ใชทํานาดํา
                                  การแพรกระจาย        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ

                                  การจัดเรียงชั้น      Ap-Btcg-(Bsm)-Cgv
                                  ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นถึงชั้นลูกรัง   ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดิน

                                  รวน สีน้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาล ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายปนกอนกรวดมาก สีเทาออน สี

                                  เทาปนชมพู  จะพบชั้นลูกรังที่ยึดเกาะกันคอนขางแนนหรืออาจเปนแผนแข็งภายในความลึก 50 ซม.
                                  จาก   ผิวดิน ใตชั้นนี้ลงไปจะพบดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีขาวหรือสีเทาออน พบจุดประ

               พวกสีแดง สีเหลืองหรือสีน้ําตาลตลอดหนาตัดดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ในดินบนและ
               เปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน          ชุดดินเพ็ญ

               ขอจํากัดการใชประโยชน        เปนดินตื้น ความอุดมสมบูรณต่ํา  มีชั้นลูกรังที่ยึดเกาะกันคอนขางแนน  พบภายใน
               50 ซม. จากผิวดิน ทําใหขัดขวางการเจริญเติบโตของรากพืช

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ควรปรับปรุงบํารุงดินโดยการใชปุยคอก  ปุยหมัก  และปุยพืชสด  เพื่อเพิ่มความอุดม

               สมบูรณใหกับดินและทําใหสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น











                                                                                                              23
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36