Page 30 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 30
20 ชุดดินนครพนม (Nakhon Phanom series: Nn)
กลุมชุดดินที่ 6
การจําแนกดิน Fine, kaolinitic, isohyperthermic Aeric Plinthic Paleaquults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนที่ราบตะกอนน้ําพา
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %
การระบายน้ํา คอนขางเลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ทํานา
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Ap-Btgv
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงหรือดินรวนปนดิน
เหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาล มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ดินลางเปนดิน
เหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว สีเทาออน สีน้ําตาลปนเทาจางหรือสีเทา มีจุดประสีแดงของศิลา
แลงออนในดินลางปริมาณ 5-50 % โดยปริมาตร ภายในความลึก 150 ซม. จากผิวดิน อาจพบกอน
เหล็กและแมงกานีสสะสมในดินลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดิน
บนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเชียงราย
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินเพื่อเพิ่มแรธาตุที่เปนประโยชนแกพืช เพิ่มสมบัติทางกายภาพของดิน
ใหดีขึ้นโดยการใสปุยคอก ปุยเคมี และปุยพืชสด
22