Page 26 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 26

16   ชุดดินโคราช (Korat series: Kt)



                                 กลุมชุดดินที่  35
                                 การจําแนกดิน  Fine-loamy, siliceous, isohyperthermic Typic (Oxyaquic) Kandiustults

                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                      แผนดิน
                                 สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 2-5 %

                                 การระบายน้ํา                 ดีปานกลาง

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลาง
                                 การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรังหรือปาเบญจพรรณ พืชไร เชน มันสําปะหลัง
                                               ขาวโพด ขาวฟาง ออย และถั่วตางๆ

                                 การแพรกระจาย        พบทั่วไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                 การจัดเรียงชั้น      A-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก  ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย   สีน้ําตาล

                                 เขมหรือน้ําตาล  ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย  สวนใหญมีอนุภาคดินเหนียวไมเกิน 35 %  สี
                                 น้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง   อาจพบสีเทาปนน้ําตาล   สีเทาหรือสีเทาปนชมพูในดินลางลึกลงไป

               พบจุดประสี น้ําตาลแกหรือสีเหลืองปนแดง ภายในความลึกมากกวา 100 ซม. จากผิวดิน อาจพบกอนเหล็กสะสมในดินลาง
               ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินสตึก

               ขอจํากัดในการใชประโยชน    เนื้อดินคอนขางเปนทราย มีความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําสําหรับพืช
               ในฤดูเพาะปลูกและเสี่ยงตอการชะลางพังทลาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  โดยทั่วไปเหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกพืชไร แตควรมีวิธีการจัดการที่เหมาะสมเพื่อ

               ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน  ปองกันการขาดน้ําและการชะลางพังทลาย  การเลือกระยะเวลาปลูกพืชที่เหมาะสม
               การไถพรวนแตนอยและการปลูกพืชแบบสลับ (intercropping) เปนตัวอยางที่ควรจะกระทํา  การจัดหาแหลงน้ําโดยการขุด

               สระ  ใชปุยคอก ปุยหมัก และปุยเคมี เพื่อเพิ่มแรธาตุตางๆ ใหแกดินและปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้น






                                                                                                              18
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31