Page 35 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 35

25  ชุดดินโพนพิสัย (Phon Phisai series: Pp)



                                กลุมชุดดินที่  49
                                การจําแนกดิน  Loamy-skeletal over clayey, kaolinitic, isohyperthermic Typic (Oxyaquic

                                                     Plinthic) Paleustults

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนชะมาทับถมบนหินตะกอนเนื้อละเอียดบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
                                                     แผนดิน

                                สภาพพื้นที่    ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 %

                                การระบายน้ํา                 ดีปานกลาง
                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลางถึงเร็ว

                                การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลางในดินบนและชาในดินลาง
                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรัง พืชไร บางพื้นที่ทําคันนาปลูกขาว

                                การแพรกระจาย         ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                การจัดเรียงชั้น       A(Ap)-Btcv-BC

                                ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง  ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน  สี

                                น้ําตาลปนเทาเขม  ดินลางตอนบน  เปนดินรวนเหนียวปนทรายถัดไปเปนดินรวนเหนียวปนทรายปน
                                กรวดหรือดินเหนียวปนกรวดมาก มีสีน้ําตาลหรือน้ําตาลแก สวนดินลางภายใน 50-100 ซม. เปนดิน

               รวนเหนียวปนกรวดมากหรือดินเหนียวปนกรวดมากถัดไปจะเปนชั้นดินเหนียวตลอด   มีสีเทาปนน้ําตาลออนหรือสีเทาออน
               มีจุดประสีแดงของศิลาแลงออนและน้ําตาลแกหรือน้ําตาลปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH

               5.0-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินลาง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           สูง           ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 50-100        ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินสระแกว

               ขอจํากัดในการใชประโยชน           เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรัง เนื้อดินบนคอนขางเปนทราย
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    กรณีที่ใชปลูกพืชไร  ควรเลือกพืชที่มีรากสั้น  เชน  ขาวโพด  ขาวฟาง  ถั่วเขียว

               และอื่นๆ  สวนกรณีที่ใชปลูกไมผลหรือไมยืนตน  ควรขุดหลุมปลูกใหมีขนาดไมเล็กกวา 75x75x75  ซม.  แลวนําหนาดินหรือ
               ดินจากที่อื่นมาผสมกับปุยอินทรีย  ใสลงในหลุมปลูก  อัตราประมาณ 20-30 กก.ตอหลุม  เมื่อผสมแลวนํากลับลงไปในหลุม

               กอนที่จะปลูกไมผลหรือไมยืนตน







                                                                                                              27
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40