Page 36 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 36

26  ชุดดินรอยเอ็ด (Roi-et series: Re)



                                 กลุมชุดดินที่  17
                                 การจําแนกดิน  Fine-loamy, mixed, subactive, isohyperthermic Aeric Kandiaquults

                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                      แผนดิน
                                 สภาพพื้นที่   ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %

                                 การระบายน้ํา                คอนขางเลว

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชา
                                 การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลางถึงชา

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ทํานา ปลูกพืชไรหรือพืชผักในฤดูแลง
                                 การแพรกระจาย        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                 การจัดเรียงชั้น      Apg-Btg
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน  สีน้ําตาล

                                 ปนเทาหรือสีน้ําตาล   ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนทรายอาจพบชั้นดินรวนปนดิน

                                 เหนียวหรือดินเหนียว สีเทาปนน้ําตาลออนหรือเทาปนชมพู พบจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปน
                                 แดงตลอด ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึง

               เปนกรดเล็กนอย (pH 4.5-6.5) ในดินลาง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ

                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง       ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง
                 25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินเรณู
               ขอจํากัดในการใชประโยชน     เนื้อดินคอนขางเปนทราย  ความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา  เสี่ยงตอการขาดน้ําในฤดู

               เพาะปลูก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  หากใชทํานาควรมีการชลประทานเขาชวยและมีการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและ

               เพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน  โดยการใสปุยพืชสด  ปุยคอก  และปุยเคมีเพิ่มขึ้น  ถาปลูกพืชโดยอาศัยน้ําฝน  ควรเลือก

               ระยะเวลาปลูกที่เหมาะสมเพื่อลดอัตราเสี่ยงของการขาดแคลนน้ํา











                                                                                                              28
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41