Page 29 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 29

19  ชุดดินน้ําพอง (Nam Phong series: Ng)



                                 กลุมชุดดินที่  44
                                 การจําแนกดิน  Loamy, siliceous, isohyperthermic Grossarenic Haplustalfs

                                 การกําเนิด    เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว

                                                       แผนดิน
                                 สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-10 %

                                 การระบายน้ํา                ดีถึงคอนขางมาก

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    เร็ว
                                 การซึมผานไดของน้ํา        เร็ว

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง มันสําปะหลัง ออย และทุงหญาเลี้ยงสัตว
                                 การแพรกระจาย        ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                 การจัดเรียงชั้น      A-E-Bt
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึก  ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินทราย   สีน้ําตาลปนเทา

                                 หรือสีน้ําตาล ดินลางเปนดินทรายปนดินรวน สีชมพู สีน้ําตาลซีดมาก พบชั้นสะสมดินเหนียวที่ความลึก

                                 ต่ํากวา 100 ซม. จากผิวดิน  มีสีเทาปนชมพู น้ําตาลซีด มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายและเปนดินรวน
                                 เหนียวปนทรายในดินลางลึกลงไป  พบจุดประสีน้ําตาลแก  เหลืองปนแดง  หรือแดงปนเหลืองในดินชั้น

               ลางนี้ดวย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึงกรดเล็กนอย (pH 4.5-
               6.5) ในดินลาง


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                   แคตไอออน                    ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25         ต่ํา          ต่ํา           สูง            ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50         ต่ํา          ต่ํา           สูง            ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100        ต่ํา          ต่ํา           สูง            ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน        ชุดดินบานไผ  และชุดดินมหาสารคาม

               ขอจํากัดในการใชประโยชน    ดินเปนทรายจัด มีความอุดมสมบูรณต่ํา พืชมักแสดงอาการขาดน้ําอยางเห็นไดชัดเจน
               ในชวงฝนแลงและเสี่ยงตอการเกิดการชะลางพังทลาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  โดยทั่วไป จัดวาไมคอยเหมาะในการที่จะนํามาใชปลูกพืชเศรษฐกิจตางๆ ถาจําเปนตอง

               นํามาใชจะตองมีการจัดการในเรื่องการปรับปรุงบํารุงดินและพืชที่จะปลูก  แตอยางไรก็ตามอาจทําเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวหรือ
               ปลูกไมใชสอยประเภทที่โตเร็วและทนแลงไดดี









                                                                                                              21
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34