Page 33 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 33
23 ชุดดินพิมาย (Phimai series: Pm)
กลุมชุดดินที่ 4
การจําแนกดิน Very fine, smectitic, isohyperthermic Ustic Endoaquerts
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนที่ราบน้ําทวมถึง
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชันนอยกวา 1 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ทํานา
การแพรกระจาย ที่ราบลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือและภาคกลาง
การจัดเรียงชั้น Apg-Bssg
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก เนื้อดินเปนดินเหนียวตลอด หนาดินมีสีเทาเขมหรือสีน้ําตาล
ปนเทาเขม ดินลางมีสีเทาหรือสีเทาออน มักพบจุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลือง น้ําตาลปน
แดงหรือแดงปนเหลืองตลอดหนาตัดดิน ฤดูแลงหนาดินจะแตกระแหงกวางและลึกพบรอยไถลชัดเจน
และอาจพบกอนเหล็กหรือแมงกานีสสะสมปะปนอยูในดินชั้นลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปน
กลาง (pH 5.5-7.0) ตลอด
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
25-50 ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินสิงหบุรี และชุดดินศรีสงคราม
ขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินเหนียวจัด สมบัติทางกายภาพของดินไมดี มีน้ําทวมขังในฤดูฝน
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทํานา ควรไถพรวนในชวงที่ดินมีความชื้นเหมาะสม ควรใสปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด
และปุยเคมี เพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินใหดีขึ้น ถามีโครงการชลประทานที่สมบูรณแบบ จะเปน
แหลงผลิตขาวที่สําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
25