Page 27 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 27
17 ชุดดินเลย (Loei series: Lo)
กลุมชุดดินที่ 31
การจําแนกดิน Very fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Eutrustox
การกําเนิด เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เศษหินเชิงเขาของหินแกรนิต
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 4-8 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน เร็ว
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเบญจพรรณ ปลูกพืชไร
การแพรกระจาย ดานตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ
การจัดเรียงชั้น Ap-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาล
เขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ดินลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนแดง สีน้ําตาลปนแดงเขมและสีแดง
ในดินลางลึกลงไป อาจพบกอนเหล็กและแมงกานีสสะสมในดินลางนี้ จะพบอนุภาคพวกควอตซที่
เปนกอนเหลี่ยมตลอดทุกชั้น ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบนและ
เปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
25-50 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหนองมด และชุดดินเชียงแสน
ขอจํากัดการใชประโยชน พืชอาจขาดแคลนน้ําถาฝนทิ้งชวง
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปลูกพืชไรหรือไมยืนตน จัดหาแหลงน้ําใหเพียงพอสําหรับพืช ใสปุยคอก ปุยหมัก และ
ปุยเคมี เพื่อปรับปรุงดินใหมีความอุดมสมบูรณดีขึ้นและเพิ่มแรธาตุที่พืชตองการและ ทําใหสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น
19