Page 28 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 28
18 ชุดดินมหาสารคาม (Maha Sarakham series: Msk)
กลุมชุดดินที่ 41
การจําแนกดิน Loamy, siliceous, subactive isohyperthermic Oxyaquic Arenic Haplustalfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
แผนดิน
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 2-5 %
การระบายน้ํา ดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง มันสําปะหลัง ออยและทุงหญาเลี้ยงสัตว
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Ap-E-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินทราย สีน้ําตาลปนเทา
ดินลางเปนดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนแดงและมีเนื้อดินเปนดิน
รวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทรายในระหวางความลึก 50-100 ซม. และพบจุดประสีน้ําตาลแก
หรือสีเหลืองปนแดงภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรด
เล็กนอย (pH 5.0-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 4.5-6.5) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบานไผ และชุดดินน้ําพอง
ขอจํากัดในการใชประโยชน ดินเปนทรายจัด มีความอุดมสมบูรณต่ํา พืชมักแสดงอาการขาดน้ําอยางเห็นไดชัดเจน
ในชวงฝนแลงและเสี่ยงตอการเกิดการชะลางพังทลาย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้น ปลูกพืชทนแลง เชน
ออย มันสําปะหลัง
20