Page 34 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 34
24 ชุดดินเพ็ญ (Phen series: Pn)
กลุมชุดดินที่ 25
การจําแนกดิน Loamy-skeletal mixed subactive, isohyperthermic Aeric Plinthic
Paleaquults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนชะมาทับถมบนหินตะกอนเนื้อละเอียดพบในสวนต่ําของพื้นผิวของ
การเกลี่ยผิวแผนดิน
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลางในดินบนและชาในดินลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ทํานา
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น Apg-Btg-Btcgv-BCgv
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาล
ปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลือง และ/หรือ สีแดงปนเหลือง สวนดินลางภายใน 50
ซม. มักเปนดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดมากในดินลางตอนบนและเปนดินเหนียวในดินลาง
ปริมาณลูกรังจะลดลงตามความลึก สีของดินลางตอนบนจะเปนสีน้ําตาลออน ดินลางเปนสีเทาและพบจุดประสีน้ําตาลแดง
ปนเหลืองและแดงตลอดหนาตัดดิน ศิลาแลงออนมีปริมาณ 5-50 % โดยปริมาตร ภายใน 150 ซม. จากผิวดิน ปฏิกิริยาดิน
เปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินอน
ขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้น มีความอุดมสมบูรณต่ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทํานา ควรใสปุยคอก ปุยหมักและปุยเคมี เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน ควร
จัดหาแหลงน้ําใหเพียงพอสําหรับการเพาะปลูก
26